ลองขึ้นชื่อว่าเป็นหลัก "สิทธิมนุษยชน"
ทางฝ่าย จนท. ผู้มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย ก็มักจะบอกว่า รู้สึกอึดอัดใจกับเรื่องนี้อยู่
เพราะในกระบวนการสืบสวน/สอบสวน มันมีหลายอย่างที่หมิ่นเหม่ว่าจะไปละเมิดสิทธิมนุษยชน
ผมยกตัวอย่าง งานสืบสวนของ ตร. ก่อนละกัน...
+ การไปสืบค้นประวัติส่วนบุคคล, ข้อมูลการทำธุรกรรมของบุคคลใด แค่นี้ก็น่าจะเข้าข่ายเป็นการกระทำที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลแล้วนะครับ
แล้วงานสอบสวนล่ะ อันนี้แหละยิ่งหมิ่นเหม่...
+ แค่การเชิญตัวมาสอบ อันนี้น่าจะยังเป็นแค่การขอความร่วมมือ แต่.....การเค้นสอบ อันนี้แหละ ที่เข้าข่ายละเมิดกันชัดๆ
[ วิธีการเค้นสอบ จริงๆมันก็มีสองแบบ ]
+ แบบแรก คือ เน้นตั้งคำถามให้ผู้ต้องสงสัยหรือผู้ต้องหาตอบ
โดยตั้งคำถามเป็นชุดๆ เรื่องโน้น เรื่องนี้ เรื่องนั้น แล้ว...คอยจับพิรุธจากคำตอบที่ฟังแล้วขัดแย้งกันเอง หรือจากท่าทางอ้ำอึ้ง, เสียงสั่น (เพราะกำลังโกหก และกลัวถูกจับได้) => แบบแรกนี้ ก็สองแง่สองง่ามอยู่นะ ว่าจะเข้าข่ายเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือไม่
+ แบบที่สอง คือ ทรมานผู้ต้องหา เพื่อให้ยอมรับสารภาพ....อันนี้ชัดเจนนะครับ ว่าเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลแน่ๆ
ตามกฎหมายไทย อนุญาตให้ทำได้ในขอบเขตที่ไม่เป็นการทำร้ายร่างกายผู้ต้องหา แต่ในความเป็นจริงแล้ว ที่เห็นทำๆกันคือ...มีหลายครั้งที่อาจจะทำนอกขอบเขตที่กฎหมายอนุญาตนะครับ ก็อย่างที่เห็นเป็นข่าวออกตามสื่ออยู่ แต่นั่นเป็นกรณีที่ผู้ต้องหาถึงขั้นเสียชีวิตนะครับ
เพราะเชื่อว่า น่าจะยังมีอีกมากมายหลายเคสที่ไม่ได้ตกเป็นข่าว
ส่วนเรื่องของการลงโทษ....การลงโทษตามกฎหมายอาญา ก็มีทั้งจำคุกและประหารชีวิต
ตรงส่วนนี้ เราคงไม่สามารถนำประเด็นของสิทธิมนุษยชนเข้ามาจับได้นะครับ
เพราะการกักขัง(จำคุก) และ การทำร้ายร่างกาย(ประหารชีวิต) ต่างก็เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างชัดแจ้ง
กระบวนการสืบสวน/สอบสวนของตำรวจ และการลงโทษตามกฎหมายอาญา มันมีแง่มุมที่...ขัดกับหลัก "สิทธิมนุษยชน" ไหม?
ทางฝ่าย จนท. ผู้มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย ก็มักจะบอกว่า รู้สึกอึดอัดใจกับเรื่องนี้อยู่
เพราะในกระบวนการสืบสวน/สอบสวน มันมีหลายอย่างที่หมิ่นเหม่ว่าจะไปละเมิดสิทธิมนุษยชน
ผมยกตัวอย่าง งานสืบสวนของ ตร. ก่อนละกัน...
+ การไปสืบค้นประวัติส่วนบุคคล, ข้อมูลการทำธุรกรรมของบุคคลใด แค่นี้ก็น่าจะเข้าข่ายเป็นการกระทำที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลแล้วนะครับ
แล้วงานสอบสวนล่ะ อันนี้แหละยิ่งหมิ่นเหม่...
+ แค่การเชิญตัวมาสอบ อันนี้น่าจะยังเป็นแค่การขอความร่วมมือ แต่.....การเค้นสอบ อันนี้แหละ ที่เข้าข่ายละเมิดกันชัดๆ
[ วิธีการเค้นสอบ จริงๆมันก็มีสองแบบ ]
+ แบบแรก คือ เน้นตั้งคำถามให้ผู้ต้องสงสัยหรือผู้ต้องหาตอบ
โดยตั้งคำถามเป็นชุดๆ เรื่องโน้น เรื่องนี้ เรื่องนั้น แล้ว...คอยจับพิรุธจากคำตอบที่ฟังแล้วขัดแย้งกันเอง หรือจากท่าทางอ้ำอึ้ง, เสียงสั่น (เพราะกำลังโกหก และกลัวถูกจับได้) => แบบแรกนี้ ก็สองแง่สองง่ามอยู่นะ ว่าจะเข้าข่ายเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือไม่
+ แบบที่สอง คือ ทรมานผู้ต้องหา เพื่อให้ยอมรับสารภาพ....อันนี้ชัดเจนนะครับ ว่าเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลแน่ๆ
ตามกฎหมายไทย อนุญาตให้ทำได้ในขอบเขตที่ไม่เป็นการทำร้ายร่างกายผู้ต้องหา แต่ในความเป็นจริงแล้ว ที่เห็นทำๆกันคือ...มีหลายครั้งที่อาจจะทำนอกขอบเขตที่กฎหมายอนุญาตนะครับ ก็อย่างที่เห็นเป็นข่าวออกตามสื่ออยู่ แต่นั่นเป็นกรณีที่ผู้ต้องหาถึงขั้นเสียชีวิตนะครับ
เพราะเชื่อว่า น่าจะยังมีอีกมากมายหลายเคสที่ไม่ได้ตกเป็นข่าว
ส่วนเรื่องของการลงโทษ....การลงโทษตามกฎหมายอาญา ก็มีทั้งจำคุกและประหารชีวิต
ตรงส่วนนี้ เราคงไม่สามารถนำประเด็นของสิทธิมนุษยชนเข้ามาจับได้นะครับ
เพราะการกักขัง(จำคุก) และ การทำร้ายร่างกาย(ประหารชีวิต) ต่างก็เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างชัดแจ้ง