พึ่งอัตตา..คือ..พึ่งขันธ์๕..นี้ พึ่งเพื่อพิจารณา..กาย - เวทนา - จิต <--กาย - เวทนา - จิตตานุปัสสนาสิตปัฏฐาน
พึ่งธรรม..คือ..พึ่งหลักความเป็นไปของขันธ์๕..นี้(คือพระสัทธรรม) พึ่งเพื่อพิจารณา..ธรรม..ที่เกิดขึ้นและเสื่อมไป <--ธรรมานุปัสสนาสิตปัฏฐาน
ขันธ์๕..พระศาสดาท่าน
เรียกว่า " อัตตา(เกิดขึ้นและเสื่อมไป) "...แต่สอนว่า
มันเป็น " อนัตตา "..
ดังพุทธวจนที่ว่า
https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=14&item=818&items=1&preline=&pagebreak=1
{๘๑๘.๑} รูปา อตฺตาติ โย วเทยฺย ตํ น อุปปชฺชติ ฯ
(.............. ผู้ใดกล่าวว่า รูป
เป็นอัตตา คำของผู้นั้น
ไม่ควร ...)
รูปานํ อุปฺปาโทปิ วโยปิ ปญฺญายติ ฯ
(...รูปย่อมปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม..)
ยสฺส โข ปน อุปฺปาโทปิ วโยปิ ปญฺญายติ
(... ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม...)
อตฺตา เม อุปฺปชฺชติ จ เวติ จาติ อิจฺจสฺส เอวมาคตํ โหติ
(...สิ่งนั้นต้อง
กล่าวได้(เรียก)อย่างนี้ว่า
อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป...)
ตสฺมา ตํ น อุปปชฺชติ รูปา อตฺตาติ โย วเทยฺย ฯ
(...เพราะฉะนั้น คำของผู้ที่กล่าวว่า รูป
เป็นอัตตานั้นจึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้...)
อิติ จกฺขุ อนตฺตา รูปา อนตฺตา ฯ
(...จักษุจึง
เป็นอนัตตา รูปจึง
เป็นอนัตตา...)
ตอนที่-97:พุทธวจน(พระสูตร)...เธอต้องพึ่งอัตตา-พึ่งธรรม...ศาสนาพุทธมีเป้าหมายไปสู่ความไม่ตาย-ความอมตะ
พึ่งธรรม..คือ..พึ่งหลักความเป็นไปของขันธ์๕..นี้(คือพระสัทธรรม) พึ่งเพื่อพิจารณา..ธรรม..ที่เกิดขึ้นและเสื่อมไป <--ธรรมานุปัสสนาสิตปัฏฐาน
ขันธ์๕..พระศาสดาท่านเรียกว่า " อัตตา(เกิดขึ้นและเสื่อมไป) "...แต่สอนว่ามันเป็น " อนัตตา "..
ดังพุทธวจนที่ว่า
https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=14&item=818&items=1&preline=&pagebreak=1
{๘๑๘.๑} รูปา อตฺตาติ โย วเทยฺย ตํ น อุปปชฺชติ ฯ
(.............. ผู้ใดกล่าวว่า รูปเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร ...)
รูปานํ อุปฺปาโทปิ วโยปิ ปญฺญายติ ฯ
(...รูปย่อมปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม..)
ยสฺส โข ปน อุปฺปาโทปิ วโยปิ ปญฺญายติ
(... ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม...)
อตฺตา เม อุปฺปชฺชติ จ เวติ จาติ อิจฺจสฺส เอวมาคตํ โหติ
(...สิ่งนั้นต้องกล่าวได้(เรียก)อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป...)
ตสฺมา ตํ น อุปปชฺชติ รูปา อตฺตาติ โย วเทยฺย ฯ
(...เพราะฉะนั้น คำของผู้ที่กล่าวว่า รูปเป็นอัตตานั้นจึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้...)
อิติ จกฺขุ อนตฺตา รูปา อนตฺตา ฯ
(...จักษุจึงเป็นอนัตตา รูปจึงเป็นอนัตตา...)