เกมเลือกตั้งคือเกมคณิตศาสตร์ที่ตั้งกติกามาเพื่อหาผู้ชนะ ผู้แข่งขันคนไหนได้คะแนนจากประชาชนมากที่สุดก็จะเป็นผู้ชนะในเกมนี้
ตอนแรกมีตัวเต็ง
A .บุรุษผู้มีพลังสูงสุดความแข็งแรงหิ้วถุงแกง
โดยมีคู่ต่อสู้คือ
B. ดอกเตอร์ ศิษย์นักวิทยาศาสตร์เอกของโลก
ถ้าเกมคือการแข่งขันระหว่าง a กับ b คนกทม.ก็จะเลือกระหว่าง a กับ b "....ใครได้คะแนนมากที่สุดก็จะเป็นฝ่ายชนะไป.."
...............
ในเวลาต่อมามีดารามาเพิ่มขึ้น
C. บุรุษผู้ซึ่งคลั่งไคล้ในพื้นที่สนามหลวง
D. ผู้พันมือประสานงาน
ฯลฯ
.......
เกมมันเลยเปลี่ยนในทางคณิตศาสตร์
C และ D จะมาตัดคะแนนของ A และ B
ผลของผู้ชนะในเกมจึงเปลี่ยนไป กลายเป็นว่า "...คนที่ถูกตัดคะแนนน้อยที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ชนะ.."
ส่วนคนที่คะแนนนำในครั้งแรกแต่ถ้าหากถูกตัดคะแนนจากคู่แข่งที่อยู่ค่ายเดียวกันยิ่งมากก็ยิ่งจะมีโอกาสกลายเป็นผู้แพ้
..................
ในทางคณิตศาสตร์ จึงมีระบบการเลือกตั้งหลายๆแบบในหลายๆประเทศ ในการเลือกผู้บริหาร เช่น
วิธีที่ 1ถ้ ามีผู้สมัคร 10 คนก็ให้ประชาชนเลือกกันก่อนใน 10 คนแล้วคัดผู้ชนะอันดับ 1 และอันดับ 2 มาให้ ปชช. เลือกกันใหม่ ทำให้ในที่สุดจะเหลือผู้สมัครเพียง 2 คนและประชาชนได้ตัดสินใจอนาคตของตัวเองที่แท้จริง
วิธีที่ 2 เลือกเป็นสภาผู้แทนให้ประชาชนเลือกผู้แทนที่ตัวชอบแล้วให้ผู้แทนเหล่านั้นไปเลือกผู้นำโหวตในสภาของเมืองนั้นๆอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งกระบวนการโหวตในสภานั้นจะมีการล็อบบี้จนเหลือผู้ที่แท้จริงจริงเพียง 2 คนในทางปฏิบัติซึ่งจะได้ผู้ชนะที่มาจากเจตจำนงของประชาชนในทางอ้อม
เราไม่ได้บอกว่าวิธีไหนดีที่สุดหรือวิธีไหนที่ไม่ดี เพราะในโลกใบนี้ในทุกๆสังคมก็มีการใช้กระบวนการการเลือกตั้งหลายๆแบบเรียกว่าแทบจะทุกแบบเลยก็มีการใช้กันอยู่จริงในทางปฏิบัติ
แต่เรากำลังอธิบายวิธีคิดทางคณิตศาสตร์กับกระบวนการการเลือกตั้งที่มีขึ้นในที่ต่างๆของโลกนี้
ทฤษฎีเกมกับผลการเลือกตั้งผู้ว่ากทม
ตอนแรกมีตัวเต็ง
A .บุรุษผู้มีพลังสูงสุดความแข็งแรงหิ้วถุงแกง
โดยมีคู่ต่อสู้คือ
B. ดอกเตอร์ ศิษย์นักวิทยาศาสตร์เอกของโลก
ถ้าเกมคือการแข่งขันระหว่าง a กับ b คนกทม.ก็จะเลือกระหว่าง a กับ b "....ใครได้คะแนนมากที่สุดก็จะเป็นฝ่ายชนะไป.."
...............
ในเวลาต่อมามีดารามาเพิ่มขึ้น
C. บุรุษผู้ซึ่งคลั่งไคล้ในพื้นที่สนามหลวง
D. ผู้พันมือประสานงาน
ฯลฯ
.......
เกมมันเลยเปลี่ยนในทางคณิตศาสตร์
C และ D จะมาตัดคะแนนของ A และ B
ผลของผู้ชนะในเกมจึงเปลี่ยนไป กลายเป็นว่า "...คนที่ถูกตัดคะแนนน้อยที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ชนะ.."
ส่วนคนที่คะแนนนำในครั้งแรกแต่ถ้าหากถูกตัดคะแนนจากคู่แข่งที่อยู่ค่ายเดียวกันยิ่งมากก็ยิ่งจะมีโอกาสกลายเป็นผู้แพ้
..................
ในทางคณิตศาสตร์ จึงมีระบบการเลือกตั้งหลายๆแบบในหลายๆประเทศ ในการเลือกผู้บริหาร เช่น
วิธีที่ 1ถ้ ามีผู้สมัคร 10 คนก็ให้ประชาชนเลือกกันก่อนใน 10 คนแล้วคัดผู้ชนะอันดับ 1 และอันดับ 2 มาให้ ปชช. เลือกกันใหม่ ทำให้ในที่สุดจะเหลือผู้สมัครเพียง 2 คนและประชาชนได้ตัดสินใจอนาคตของตัวเองที่แท้จริง
วิธีที่ 2 เลือกเป็นสภาผู้แทนให้ประชาชนเลือกผู้แทนที่ตัวชอบแล้วให้ผู้แทนเหล่านั้นไปเลือกผู้นำโหวตในสภาของเมืองนั้นๆอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งกระบวนการโหวตในสภานั้นจะมีการล็อบบี้จนเหลือผู้ที่แท้จริงจริงเพียง 2 คนในทางปฏิบัติซึ่งจะได้ผู้ชนะที่มาจากเจตจำนงของประชาชนในทางอ้อม
เราไม่ได้บอกว่าวิธีไหนดีที่สุดหรือวิธีไหนที่ไม่ดี เพราะในโลกใบนี้ในทุกๆสังคมก็มีการใช้กระบวนการการเลือกตั้งหลายๆแบบเรียกว่าแทบจะทุกแบบเลยก็มีการใช้กันอยู่จริงในทางปฏิบัติ
แต่เรากำลังอธิบายวิธีคิดทางคณิตศาสตร์กับกระบวนการการเลือกตั้งที่มีขึ้นในที่ต่างๆของโลกนี้