^
|
|
ทำไมจะไม่เคยเห็น... หลายคนอ่านไม่เข้าใจเอง..
แล้วทำไม..จึงคิดว่า " การมีสัตว์...จึงเป็นการยึดถือ..นิพพาน "...?
" สัตว์..เมื่อคลายกำหนัดจาก...ขันธ์๕..แล้ว ก็คือ...นิพพานธาตุ " <---ควรไปศึกษาให้ดีๆ...ครับ
ดูบาลีซิ...ว่า ใช่คำว่า...อะไร?
มีไหมที่บอกว่า " นิพพาน..ไม่ใช่เธอ(หมายถึง..อรหันต์ผู้หลุดพ้นแล้ว) "..?
ถ้ามี...ก็จะขัดกับ...ที่พระองค์กล่าวว่า...พระอรหันต์คือ " นิพพานธาตุ "
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=12&A=1&Z=237
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
พระสุตตันตปิฎก
เล่ม ๔
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
มูลปริยายวรรค
๑. มูลปริยายสูตร
ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง
....
...
[๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ภิกษุนั้นใด เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ เสร็จ
กิจแล้ว ปลงภาระแล้ว บรรลุถึงประโยชน์ตนแล้ว สิ้นกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพแล้ว
พ้นด้วยปัญญาอันชอบแล้ว แม้ภิกษุนั้นรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดิน ครั้นรู้ธาตุดินโดยความ
เป็นธาตุดินแล้ว ย่อมไม่สำคัญธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญในธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญโดยความเป็นธาตุดิน
ย่อมไม่สำคัญธาตุดินว่าของเรา ย่อมไม่ยินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะ
ปราศจากราคะ เหตุราคะสิ้นไป.
ย่อมรู้ธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ... อาภัสสรพรหม ...
สุภกิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตน-
*พรหม ... อากิญจัญญายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่
ตนฟัง ... อารมณ์ที่ตนทราบ ... วิญญาณที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ... ความที่
สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...
( นิพฺพานํ นิพฺพานโต อภิชานาติ )
- ย่อมรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน
( นิพฺพานํ นิพฺพานโต อภิญฺญาย )
- ครั้นรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพานแล้ว
ย่อม
ไม่สำคัญพระนิพพาน ( นิพฺพานํ
น มญฺญติ )
ย่อม
ไม่สำคัญในพระนิพพาน ( นิพฺพานสฺมึ
น มญฺญติ )
ย่อม
ไม่สำคัญโดยความเป็นพระนิพพาน ( นิพฺพานโต
น มญฺญติ )
ย่อม
ไม่สำคัญพระนิพพานว่า ของเรา ( นิพฺพานมฺเมติ
น มญฺญติ )
ย่อม
ไม่ยินดีพระนิพพาน ( นิพฺพานํ
นาภินนฺทติ )
( ตํ กิสฺส เหตุ ฯ ขยา ราคสฺส วีตราคตฺตา ฯ )
ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร ?
เพราะปราศจากราคะ...เหตุราคะสิ้นไป.
กำหนดภูมินัยที่ ๔ ด้วยสามารถพระขีณาสพ.
สัตว์..เมื่อคลายกำหนัดจาก...ขันธ์๕..แล้ว ก็คือ...นิพพานธาตุ
^
|
|
ทำไมจะไม่เคยเห็น... หลายคนอ่านไม่เข้าใจเอง..
แล้วทำไม..จึงคิดว่า " การมีสัตว์...จึงเป็นการยึดถือ..นิพพาน "...?
" สัตว์..เมื่อคลายกำหนัดจาก...ขันธ์๕..แล้ว ก็คือ...นิพพานธาตุ " <---ควรไปศึกษาให้ดีๆ...ครับ
ดูบาลีซิ...ว่า ใช่คำว่า...อะไร?
มีไหมที่บอกว่า " นิพพาน..ไม่ใช่เธอ(หมายถึง..อรหันต์ผู้หลุดพ้นแล้ว) "..?
ถ้ามี...ก็จะขัดกับ...ที่พระองค์กล่าวว่า...พระอรหันต์คือ " นิพพานธาตุ "
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=12&A=1&Z=237
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
พระสุตตันตปิฎก
เล่ม ๔
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
มูลปริยายวรรค
๑. มูลปริยายสูตร
ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง
....
...
[๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ภิกษุนั้นใด เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ เสร็จ
กิจแล้ว ปลงภาระแล้ว บรรลุถึงประโยชน์ตนแล้ว สิ้นกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพแล้ว
พ้นด้วยปัญญาอันชอบแล้ว แม้ภิกษุนั้นรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดิน ครั้นรู้ธาตุดินโดยความ
เป็นธาตุดินแล้ว ย่อมไม่สำคัญธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญในธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญโดยความเป็นธาตุดิน
ย่อมไม่สำคัญธาตุดินว่าของเรา ย่อมไม่ยินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะ
ปราศจากราคะ เหตุราคะสิ้นไป.
ย่อมรู้ธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ... อาภัสสรพรหม ...
สุภกิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตน-
*พรหม ... อากิญจัญญายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่
ตนฟัง ... อารมณ์ที่ตนทราบ ... วิญญาณที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ... ความที่
สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...
( นิพฺพานํ นิพฺพานโต อภิชานาติ )
- ย่อมรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน
( นิพฺพานํ นิพฺพานโต อภิญฺญาย )
- ครั้นรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพานแล้ว
ย่อมไม่สำคัญพระนิพพาน ( นิพฺพานํ น มญฺญติ )
ย่อมไม่สำคัญในพระนิพพาน ( นิพฺพานสฺมึ น มญฺญติ )
ย่อมไม่สำคัญโดยความเป็นพระนิพพาน ( นิพฺพานโต น มญฺญติ )
ย่อมไม่สำคัญพระนิพพานว่า ของเรา ( นิพฺพานมฺเมติ น มญฺญติ )
ย่อมไม่ยินดีพระนิพพาน ( นิพฺพานํ นาภินนฺทติ )
( ตํ กิสฺส เหตุ ฯ ขยา ราคสฺส วีตราคตฺตา ฯ )
ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะปราศจากราคะ...เหตุราคะสิ้นไป.
กำหนดภูมินัยที่ ๔ ด้วยสามารถพระขีณาสพ.