เรื่องการขับสารพิษอย่างสารปรอท ที่ช่วยให้หายจากโรคต่าง ๆ ที่รักษาแบบปกติทั่วไปไม่ได้
เพราะไม่มียารักษา หรือต้องใช้ยาควบคุมอาการไปเรื่อย ๆ มันค่อนข้างเป็น
ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์สักเล็กน้อย
เพราะตามหลักเหตุและผลมันใช่ เมื่อสารพิษทำให้ระบบในร่างกายทำงานผิดปกติ เมื่อดึงเอาสารพิษออก
ร่างกายหรือสมองก็ย่อมกลับมาทำงานปกติ แต่มันไม่มีงานวิจัยที่พิสูจน์ได้อย่างแน่ชัดในเรื่องนี้ จึงทำให้การแพทย์สายหลักไม่ยอมรับ
ในขณะที่มีหมอกลุ่มหนึ่งยอมรับในเรื่องนี้ เป็นเพราะว่าเชื่อในทฤษฎีนี้
และเมื่อทำไปแล้วเห็นผลสำเร็จหรือเห็นผลที่แตกต่าง ที่ทำให้คนไข้อาการดีขึ้น
แต่ด้วยความที่มันไม่มีความแน่นอน และหาเหตุผลอธิบายไม่ได้ว่าทำไมบางทีมันทำให้แย่ลง
เรื่อง
คีเลชันจึงถูกโจมตีและเป็นจุดที่เขาขัดแย้งกันเอง
ผมได้เข้าไปในเพจบางเพจอย่างโรคแพนิค และบอกเขาไปว่ามันเป็นอาการจากปรอท
เพราะหนึ่งมันถูกเขียนไว้แบบนั้นจริง ๆ ในหนังสือแพทย์คลาสสิก มีการบันทึกว่าเป็นอาการของผู้ถูกสารปรอทจริง
การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตของ ALA ช่วยให้คนในต่างประเทศหายจากโรคได้จริง
และล่าสุด คนที่มาปรึกษากับผมก็มีอาการลดลงอย่างมากทั้งที่ทำไปได้เพียงไม่กี่รอบเท่านั้น
แต่คนในเพจนั้นก็ยังเชื่ออย่างมากในข้อมูลของหมอที่เขาเคยอ่านเจอว่ามันเป็นโรคทางพันธุกรรม
ซึ่งหมายความว่ามันเป็นโรคที่รักษาไม่ได้นะ และต้องอยู่ไปกับมันให้ได้นะ ถึงแม้ว่าจะต้องทุกข์ทรมานขนาดไหนก็ตาม
ทำให้ผมเข้าใจเลยว่า มีคนหลายคนที่พร้อมที่จะเชื่อทุกอย่างที่หมอบอก
เกี่ยวกับโรคแพนิคว่าเป็นโรคทางพันธุกรรมหรือไม่ และถ่ายทอดเป็นกรรมพันธุ์หรือไม่
มันยังคงเป็นเพียงความเชื่อในทางการแพทย์ เพราะเรื่องของพันธุกรรมในทุกวันนี้
มันคาบเกี่ยวกับ
อีพีเจเนติกส์หรือพันธุ์ศาสตร์เหนือพันธุกรรม ที่ยีนได้รับผลกระทบจากสารพิษ
อีพีเจเนติกส์สามารถแก้ไขได้ เพราะการแสดงออกของยีนที่ผิดปกติ อาจมาจากเมทิลเลชันที่มีปัญหาเท่านั้น
แต่ตัวยีนเองไม่ได้รับผลกระทบโดยตรง การเอาสารพิษออกไปช่วยให้เมทิลเลชันกลับมาเป็นปกติ
และช่วยให้การแสดงออกของยีนกลับมาเป็นปกติได้
โลกวิทยาศาสตร์ในทุกวันนี้ พยายามมองโรคที่หาทางรักษาไม่ได้ในแง่ของอีพีเจเนติกส์
เพราะมันสามารถแก้ไขให้หายได้ ในขณะที่การแพทย์ยังคงอนุรักษ์นิยมกับความคิดดั้งเดิม
และใส่ความเชื่อเรื่องโรคมาจากความผิดปกติทางพันธุกรรมที่แก้ไขไม่ได้ให้กับคนไข้
เพราะนั่นทำให้รักษาโรคได้ง่ายกว่า การที่คนไข้เชื่อตามนั้นช่วยให้พวกเขาตัดสินใจยอมอยู่ไปกับโรค
หรือยอมรักษาตามอาการ หรือยอมกินยาควบคุมอาการไปตลอดชีวิตได้ หลายคนมองแบบนั้น และตัวผมก็คิดเช่นนั้นเหมือนกัน
การยอมรับว่าโรคเกิดจากสารพิษในสิ่งแวดล้อมจะทำให้หมอทำงานได้อย่างยากลำบากขึ้นมาก
การรักษาตามแนวทางเดิมที่คุ้นชิน คล่องแคล่ว และง่ายดาย จะทำไม่ได้ หมอจะต้องร่วมสืบกับตัวคนไข้
ว่าสาเหตุของโรคเกิดจากอะไรที่เข้ามากระทบกับร่างกายกันแน่ มากกว่าเพียงแค่บอกกับคนไข้ว่า
มันน่าจะเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งในยุโรปหรือประเทศพัฒนาแล้วมีหมอประเภทที่ยอมสืบกับคนไข้
ในการหาสาเหตุจากสภาพแวดล้อม อย่าง
หมอสิ่งแวดล้อม หรือ หมอที่เป็น
แพทย์แผนองค์รวม
ซึ่งก็จะถูกมองว่าเป็นหมออีกเกรดหนึ่ง ไม่ใช่หมอสายหลักที่คนส่วนใหญ่ให้ความเชื่อถือ
คีเลชันถูกโจมตีว่าไม่สามารถรักษาโรคออทิซึมหรือโรคหลอดเลือดหัวใจได้จริง ทั้งที่ยึดตามทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
และตัวสารที่ใช้ก็สามารถดึงสารพิษโลหะหนักออกมาได้จริง การที่คีเลชันไม่ได้ผลเป็นเรื่องที่ยืนยัน
ว่าโรคอย่างออทิซึมคือโรคทางพันธุกรรมจริง ๆ ไม่ได้มาจากสารพิษใช่หรือไม่ ?
โรคออทิซึมรักษาหายได้จริง เพียงแต่ไม่ใช่คีเลชันที่ทำได้ แต่เป็นการขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิต
ซึ่งเป็นทฤษฎีของ
ดร.แอนดรูว์ ฮอลล์ คัทเลอร์ นักเคมีคนหนึ่งจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
เขาได้เขียนอธิบายทฤษฎีการขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตไว้อย่างละเอียดในหนังสือของเขา
'amalgam illness' ตั้งแต่ 20 ปีก่อน และทำให้การรักษาที่เคยเป็นเพียงทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
สามารถให้ผลทางปฏิบัติจริง ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา คนไข้ที่มาปรึกษากับเขาได้ขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิต
ด้วยโดสน้อย ๆ ไปเรื่อย ๆ ทำให้โรคออทิซึมของลูกที่เป็นมานานหาย เป็นจำนวนมาก และออกมาช่วยยืนยันใน
cutlersuccessstories หรือในเฟสบุ๊คของเขา
ไม่ใช่เพียงแต่โรคออทิซึม แต่โรคอื่น ๆ ไม่ว่าโรคซึมเศร้า โรคที่ทำให้ไมเคิล พูพาร์ทต้องเสียชีวิตไป
โรคแพนิค โรควิตกกังวล โรคเอ็มเอส โรคเอ็มจี ไฟโบรมัยอัลเจีย ไฮโปไทรอยด์
หลายโรคที่ดาราไทยเป็นแต่รักษาไม่ได้ ไม่ว่าหมอจะเก่งขนาดไหนก็ตาม นั่นเป็นเพราะหมอทุกคนต่างก็ใช้ตำราเดียวกัน
และการแพทย์ในปัจจุบันยังไม่ได้เข้าไปรักษาในระดับอีพีเจเนติกส์
การแพทย์ใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการยืนยันว่าวัคซีนและอมัลกัมปลอดภัย ทั้งที่เป็นแหล่งของสารปรอทที่สำคัญ
และหลายคนยังคงใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่บันยะบันยัง ทั้งที่มีข้อมูลให้เห็นแล้วว่ามันสามารถทำให้เกิดโรคที่ไม่มีทางรักษาได้
แต่การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตด้วยโดสน้อยก็ไม่ได้ทำให้โรคทุกโรคหายได้ 100%
ทั้งที่มีหลักฐานอ้างอิงที่ชัดเจนว่าเกี่ยวข้องกับสารปรอท และเมื่อสืบประวัติคนไข้มีความเสี่ยงได้รับสารปรอทจริง
เช่น ชอบฉีดวัคซีนบ่อย ๆ และวัคซีนนั้นมีปรอท มีอมัลกัมจำนวนมากในฟัน และอื่น ๆ
นั่นเป็นเพราะเมื่อปรอทอยู่ในร่างกายยาวนานมากขึ้นเท่าไร ก็จะทำลายเนื้อเยื่อและกระทบต่อพันธุกรรมได้มากขึ้น
จนทำให้การขับสารปรอทออกจนหมด แม้จะทำให้อาการของโรคดีขึ้น แต่ก็จะไม่หายไป 100%
เด็กออทิสติกบางคนสามารถกลับมาได้เหมือนเด็กปกติแทบจะเรียกได้ว่า 100% เพราะพวกเขารีบขับสารปรอทตั้งแต่เด็ก
ในขณะที่เด็กที่อายุมากแล้ว จะกลับมาได้ไม่ 100% แต่ก็สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ด้วยตนเอง ออกไปทำงาน เรียนหนังสือได้
ช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด และอาจมีครอบครัวได้เหมือนคนปกติ
เพียงแต่ลักษณะและบุคลิกภายนอกดูไม่เหมือนคนปกติ ยังมีลักษณะแปลก ๆ ที่คนอื่นเห็นแล้วรู้อยู่เท่านั้น
นั่นทำให้การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตด้วยโดสน้อย ๆ มีค่าเท่ากับ
การอดอาหารแบบช่วงหรือ IF เลย
เพราะมันทำให้เราเข้าใจกลไกของร่างกายตามทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ ว่าร่างกายของเราโอเคกับอะไร
โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาหมอ ตอนนี้หลายคนคงรู้แล้วว่า ร่างมนุษย์ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้กินข้าวเช้า
เพราะหลายแสนปีที่ผ่านมา เราต้องใช้เวลาออกหาอาหารตั้งแต่เช้า และระบบร่างกายมันซัพพอร์ตให้อดในช่วงเวลานี้ บลา บลา บลา
จนถึงทุกวันนี้ก็ยังมีหมอที่เถียงเป็นเสียงแข็งว่ายังไง ๆ ก็ต้องกินข้าวเช้าเท่านั้น
ซึ่งมันถูกต้องบางส่วน เพราะสำหรับคนที่มีต่อมหมวกไตอ่อนแอ พวกเขาจะรู้สึกแย่มากถ้าขาดข้าวเช้า
แต่ทุกวันนี้ไม่มีใครฟังหมอแล้วในเรื่อง IF ถ้าอย่างทำ IF ก็สามารถหาข้อมูลแล้วเริ่มลองทำตามดูได้เลย
การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตแบบโดสน้อยนี้ก็ทำแบบนั้นได้เช่นเดียวกัน
ในหนังสือ amalgam illness เป็นโปรโตคอลของ ดร.คัทเลอร์ ที่มีหลายทฤษฎีอยู่ในนั้น
หลายอย่างยังอยู่ในขั้นทดลอง หรือ เป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพ
แต่จุดที่แข็งที่สุดได้รับการพิสูจน์แล้วจริง ๆ ก็คือเรื่องของระยะครึ่งชีวิตกับสารพิษโลหะหนัก
เพราะคนหลายหมื่นคน ทั้งคนที่มีความรู้ คนที่เป็นหมอหรือนักวิทยาศาสตร์ เห็นด้วยกับเหตุผลในทฤษฎี
และทดลองทำกันจนสำเร็จได้จริง
ซึ่งหมอคีเลชันก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
เราต้องรู้จักธรรมชาติของปรอท ให้เหมือนกับที่เรารู้จักธรรมชาติของร่างกายแบบเรื่อง IF
ปรอทคือสารพิษที่ชอบไขมัน มันจะไม่ชอบอยู่ในเลือด
เมื่อเข้าสู่เลือดแล้วมันจะพุ่งตรงอย่างรวดเร็วไปหาอวัยวะที่เป็นไขมันประมาณ 95%
นั่นเป็นเหตุผลว่าทำไม ด้วยเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบันทำให้เราไม่สามารถเห็นปรอทในเลือด
หลังจากที่ฉีดวัคซีน หรือมีอมัลกัมอยู่ในฟัน
เมื่อปรอทเข้าไปสะสมอยู่ในอวัยวะที่เป็นไขมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมอง
มันจะสะสมเพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ มันจะขัดขวางระบบขับสารพิษและทำให้สารพิษอื่นๆ เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
สาเหตุที่โรคบางโรคเหมือนพันธุกรรมเหลือเกิน เพราะมีการถ่ายทอดภายในครอบครัวญาติพี่น้องได้
ก็เพราะปรอทและสารพิษสามารถส่งผ่านครรภ์จากแม่สู่ทารกในครรภ์ได้ สูงถึง 75-80% ของที่สะสมในตัวแม่
เมื่อเข้ามาสู่ตัวเด็ก ปริมาณสารพิษนั้นมันจะรุนแรงเป็นเท่าทวีคูณเมื่อเทียบกับที่สารพิษเวลาที่อยู่ในตัวแม่
เพราะเด็กยังเป็นแค่ตัวเล็ก ๆ เท่านั้น หลายคนที่ไม่ได้ค้านวัคซีน 100% จึงขอร้องให้ฉีดวัคซีนให้เด็กช้าลงหน่อย
เพราะร่างกายเด็กยังเล็กไม่เหมือนผู้ใหญ่ เด็กจะได้แข็งแรงพอและได้รับผลกระทบใด ๆ จากวัคซีนน้อยลง
เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องเบสิกทั้งนั้นเลย และมีเอกสารหรืองานวิจัยพูดถึงอยู่เรื่อย ๆ
แต่เพราะว่ามันเป็นการพูดถึงในทางทฤษฎี ที่ไม่ได้มีการมาประยุกต์ใช้ว่าจะเอามารักษาโรคยังไง
การแพทย์ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์จึงละเลยในข้อมูลข้อเท็จจริงเหล่านี้
และเนื่องจากระดับในสังคมของพวกเขาอยู่สูงมาก ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่มีเหตุผลกลายเป็นรอง
แต่กลับยึดถือความเชื่อในทางการแพทย์เป็นหลัก ที่เป็นความเชื่อต่อ ๆ กันมา
นี่จึงเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้โรคมากมายกลายเป็นโรคที่เรื้อรังรักษาไม่หาย
มันมีโรคมากมายที่ผมไม่ได้เขียนถึงในนี้ เพราะยิ่งเขียนถึงโรคมากขึ้นเท่าไหร่ ความน่าเชื่อถือยิ่งดูน้อยลงเท่านั้น
แต่ปรอทนั้นเกี่ยวข้องกับโรคต่าง ๆ มากมายจริง ๆ และมันมีคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ทั้งหมด
เพียงแต่เราไม่ได้เข้าไปอ่านเอง และเรามีนิสัยชอบรอให้หมอมาเล่าให้ฟัง
ถ้าเราอ่านเองเป็น เราจะรู้ข้อมูลหลาย ๆ อย่างพร้อมกับหมอ ทุกวันนี้หลายข่าวที่หมอประกาศ
มันก็คือข่าวที่ลงเป็นภาษาอังกฤษก่อนหน้าประมาณ 2-3 วันที่แล้วเป็นส่วนใหญ่
นี่จึงเป็นจุดด้อยของประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่ไม่รู้ภาษาอังกฤษ และไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจัง
ทำให้ต้องพึ่งท่อเล็ก ๆ เพื่อส่งต่อข้อมูลจากโลกภายนอกเข้ามาสู่ในประเทศ แล้วต้องหวังว่าข้อมูลดี ๆ จะถูกส่งมา
กระทู้ที่แล้วที่ผมเขียนถึงเจ้าของบริษัทเคมีคนหนึ่ง นั่นก็คือตัวอย่างของคนที่ออกไปหาข้อมูลเองได้
จากโลกภายนอก เว็บไทยกับเทศนั้นมีระดับข้อมูลที่ต่างกันมาก ในนี้พวกเรารู้น้อยกว่ามาก และข้อมูลถูกคุมเอาไว้มาก
คนที่มีความรู้ระดับนั้น เขาไม่ได้มองว่าหมออยู่สูงกว่าเขา เขาคิดว่าเขามีความสามารถที่จะหาข้อมูลอื่น ๆ
เพื่อรักษาลูกของเขาให้หายจากออทิสติกได้ และข้อมูลเรื่องปรอทมันสะดุดใจเขา
เพราะว่ามันเป็นเรื่องที่มีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เขาไม่จำเป็นต้องจำยอมเชื่อหมอจนเหมือนสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ที่ทุกวันนี้คนไข้ก็นอบน้อมต่อหมอจนหมอเหมือนชนชั้นที่อยู่บนฟ้าไปแล้ว
แน่นอนว่าหมอบอกว่าลูกของเขาเป็นออทิสติก และมันไม่มีทางรักษาให้หาย
นอกจากพอที่จะบำบัดให้อะไร ๆ ดีขึ้นมาบ้างพอสมควรเท่านั้น และต้องอยู่ไปกับโรคนี้ให้ได้
แต่รูปร่างหน้าตาของคนเป็นออทิสติกก็เหมือนคนปกติทุกอย่าง มีเพียงสมองเท่านั้นที่ทำงานมีปัญหา
มันไม่เหมือนกับดาวน์ซินโดรมที่ลักษณะทางกายได้รับผลกระทบไปด้วย
เขาต้องหาว่ามีสาเหตุอะไรที่กระทบต่อสมองได้ และสาเหตุอันนั้นมันน่าจะใช้หรือไม่ ที่ลูกเขาหรือครอบครัวเขาได้รับ
ถ้าเขาเลือกเชื่อหมอ มันไม่มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงได้ แต่ถ้าเขาได้รู้ข้อมูลที่หมออาจจะไม่รู้ และเช็คดูแล้วว่าไม่มีความเสี่ยง
ที่จะเป็นอันตราย การเลือกที่จะรักษามันคุ้มค่ามากกว่าการอยู่นิ่งเฉยเพื่อยอมรับชะตากรรมอย่างมาก
ผมก็เคยมาเล่าให้ฟังหลายรอบแล้วเหมือนกัน เรื่องของตัวผมเองที่ตัดสินใจค้นคว้าศึกษาเรื่องโรคติกส์-ทูเร็ตต์
เพราะลูกผมหัวส่ายไปมาตลอดเวลาตั้งแต่ลูกจบอนุบาล 2 กำลังจะขึ้นอนุบาล 3
เราคงทนอยู่กับโรคไปตลอดโดยไม่ทำอะไรสักอย่างไม่ได้แน่ ถ้าเป็นเป็นเด็กดีเชื่อหมอ วันนี้ที่ลูกจะขึ้นป.4 แล้ว
อาการคงจะไปไกลต่อไหน ๆ แล้ว อาจจะกระตุกทั้งตัวเลยก็ได้ สิ่งที่ทรมานมันมีมากกว่ากันก็คือ
เด็กต้องทนขนาดไหน มันก็เหมือนกับคนที่ไม่ทนแล้วออกมาประท้วงในหลาย ๆ ประเทศ สำเร็จบ้างไม่สำเร็จบ้าง
แต่มันก็เป็นการแสดงออกถึงความพยายามที่จะต่อสู้
ทำไมการขับสารปรอทจึงรักษาโรคทางสมองหรือโรคเรื้อรังที่รักษาไม่ได้ ให้หายได้
เพราะไม่มียารักษา หรือต้องใช้ยาควบคุมอาการไปเรื่อย ๆ มันค่อนข้างเป็นทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์สักเล็กน้อย
เพราะตามหลักเหตุและผลมันใช่ เมื่อสารพิษทำให้ระบบในร่างกายทำงานผิดปกติ เมื่อดึงเอาสารพิษออก
ร่างกายหรือสมองก็ย่อมกลับมาทำงานปกติ แต่มันไม่มีงานวิจัยที่พิสูจน์ได้อย่างแน่ชัดในเรื่องนี้ จึงทำให้การแพทย์สายหลักไม่ยอมรับ
ในขณะที่มีหมอกลุ่มหนึ่งยอมรับในเรื่องนี้ เป็นเพราะว่าเชื่อในทฤษฎีนี้
และเมื่อทำไปแล้วเห็นผลสำเร็จหรือเห็นผลที่แตกต่าง ที่ทำให้คนไข้อาการดีขึ้น
แต่ด้วยความที่มันไม่มีความแน่นอน และหาเหตุผลอธิบายไม่ได้ว่าทำไมบางทีมันทำให้แย่ลง
เรื่องคีเลชันจึงถูกโจมตีและเป็นจุดที่เขาขัดแย้งกันเอง
ผมได้เข้าไปในเพจบางเพจอย่างโรคแพนิค และบอกเขาไปว่ามันเป็นอาการจากปรอท
เพราะหนึ่งมันถูกเขียนไว้แบบนั้นจริง ๆ ในหนังสือแพทย์คลาสสิก มีการบันทึกว่าเป็นอาการของผู้ถูกสารปรอทจริง
การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตของ ALA ช่วยให้คนในต่างประเทศหายจากโรคได้จริง
และล่าสุด คนที่มาปรึกษากับผมก็มีอาการลดลงอย่างมากทั้งที่ทำไปได้เพียงไม่กี่รอบเท่านั้น
แต่คนในเพจนั้นก็ยังเชื่ออย่างมากในข้อมูลของหมอที่เขาเคยอ่านเจอว่ามันเป็นโรคทางพันธุกรรม
ซึ่งหมายความว่ามันเป็นโรคที่รักษาไม่ได้นะ และต้องอยู่ไปกับมันให้ได้นะ ถึงแม้ว่าจะต้องทุกข์ทรมานขนาดไหนก็ตาม
ทำให้ผมเข้าใจเลยว่า มีคนหลายคนที่พร้อมที่จะเชื่อทุกอย่างที่หมอบอก
เกี่ยวกับโรคแพนิคว่าเป็นโรคทางพันธุกรรมหรือไม่ และถ่ายทอดเป็นกรรมพันธุ์หรือไม่
มันยังคงเป็นเพียงความเชื่อในทางการแพทย์ เพราะเรื่องของพันธุกรรมในทุกวันนี้
มันคาบเกี่ยวกับอีพีเจเนติกส์หรือพันธุ์ศาสตร์เหนือพันธุกรรม ที่ยีนได้รับผลกระทบจากสารพิษ
อีพีเจเนติกส์สามารถแก้ไขได้ เพราะการแสดงออกของยีนที่ผิดปกติ อาจมาจากเมทิลเลชันที่มีปัญหาเท่านั้น
แต่ตัวยีนเองไม่ได้รับผลกระทบโดยตรง การเอาสารพิษออกไปช่วยให้เมทิลเลชันกลับมาเป็นปกติ
และช่วยให้การแสดงออกของยีนกลับมาเป็นปกติได้
โลกวิทยาศาสตร์ในทุกวันนี้ พยายามมองโรคที่หาทางรักษาไม่ได้ในแง่ของอีพีเจเนติกส์
เพราะมันสามารถแก้ไขให้หายได้ ในขณะที่การแพทย์ยังคงอนุรักษ์นิยมกับความคิดดั้งเดิม
และใส่ความเชื่อเรื่องโรคมาจากความผิดปกติทางพันธุกรรมที่แก้ไขไม่ได้ให้กับคนไข้
เพราะนั่นทำให้รักษาโรคได้ง่ายกว่า การที่คนไข้เชื่อตามนั้นช่วยให้พวกเขาตัดสินใจยอมอยู่ไปกับโรค
หรือยอมรักษาตามอาการ หรือยอมกินยาควบคุมอาการไปตลอดชีวิตได้ หลายคนมองแบบนั้น และตัวผมก็คิดเช่นนั้นเหมือนกัน
การยอมรับว่าโรคเกิดจากสารพิษในสิ่งแวดล้อมจะทำให้หมอทำงานได้อย่างยากลำบากขึ้นมาก
การรักษาตามแนวทางเดิมที่คุ้นชิน คล่องแคล่ว และง่ายดาย จะทำไม่ได้ หมอจะต้องร่วมสืบกับตัวคนไข้
ว่าสาเหตุของโรคเกิดจากอะไรที่เข้ามากระทบกับร่างกายกันแน่ มากกว่าเพียงแค่บอกกับคนไข้ว่า
มันน่าจะเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึ่งในยุโรปหรือประเทศพัฒนาแล้วมีหมอประเภทที่ยอมสืบกับคนไข้
ในการหาสาเหตุจากสภาพแวดล้อม อย่างหมอสิ่งแวดล้อม หรือ หมอที่เป็นแพทย์แผนองค์รวม
ซึ่งก็จะถูกมองว่าเป็นหมออีกเกรดหนึ่ง ไม่ใช่หมอสายหลักที่คนส่วนใหญ่ให้ความเชื่อถือ
คีเลชันถูกโจมตีว่าไม่สามารถรักษาโรคออทิซึมหรือโรคหลอดเลือดหัวใจได้จริง ทั้งที่ยึดตามทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
และตัวสารที่ใช้ก็สามารถดึงสารพิษโลหะหนักออกมาได้จริง การที่คีเลชันไม่ได้ผลเป็นเรื่องที่ยืนยัน
ว่าโรคอย่างออทิซึมคือโรคทางพันธุกรรมจริง ๆ ไม่ได้มาจากสารพิษใช่หรือไม่ ?
โรคออทิซึมรักษาหายได้จริง เพียงแต่ไม่ใช่คีเลชันที่ทำได้ แต่เป็นการขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิต
ซึ่งเป็นทฤษฎีของ ดร.แอนดรูว์ ฮอลล์ คัทเลอร์ นักเคมีคนหนึ่งจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
เขาได้เขียนอธิบายทฤษฎีการขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตไว้อย่างละเอียดในหนังสือของเขา
'amalgam illness' ตั้งแต่ 20 ปีก่อน และทำให้การรักษาที่เคยเป็นเพียงทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
สามารถให้ผลทางปฏิบัติจริง ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา คนไข้ที่มาปรึกษากับเขาได้ขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิต
ด้วยโดสน้อย ๆ ไปเรื่อย ๆ ทำให้โรคออทิซึมของลูกที่เป็นมานานหาย เป็นจำนวนมาก และออกมาช่วยยืนยันใน
cutlersuccessstories หรือในเฟสบุ๊คของเขา
ไม่ใช่เพียงแต่โรคออทิซึม แต่โรคอื่น ๆ ไม่ว่าโรคซึมเศร้า โรคที่ทำให้ไมเคิล พูพาร์ทต้องเสียชีวิตไป
โรคแพนิค โรควิตกกังวล โรคเอ็มเอส โรคเอ็มจี ไฟโบรมัยอัลเจีย ไฮโปไทรอยด์
หลายโรคที่ดาราไทยเป็นแต่รักษาไม่ได้ ไม่ว่าหมอจะเก่งขนาดไหนก็ตาม นั่นเป็นเพราะหมอทุกคนต่างก็ใช้ตำราเดียวกัน
และการแพทย์ในปัจจุบันยังไม่ได้เข้าไปรักษาในระดับอีพีเจเนติกส์
การแพทย์ใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการยืนยันว่าวัคซีนและอมัลกัมปลอดภัย ทั้งที่เป็นแหล่งของสารปรอทที่สำคัญ
และหลายคนยังคงใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่บันยะบันยัง ทั้งที่มีข้อมูลให้เห็นแล้วว่ามันสามารถทำให้เกิดโรคที่ไม่มีทางรักษาได้
แต่การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตด้วยโดสน้อยก็ไม่ได้ทำให้โรคทุกโรคหายได้ 100%
ทั้งที่มีหลักฐานอ้างอิงที่ชัดเจนว่าเกี่ยวข้องกับสารปรอท และเมื่อสืบประวัติคนไข้มีความเสี่ยงได้รับสารปรอทจริง
เช่น ชอบฉีดวัคซีนบ่อย ๆ และวัคซีนนั้นมีปรอท มีอมัลกัมจำนวนมากในฟัน และอื่น ๆ
นั่นเป็นเพราะเมื่อปรอทอยู่ในร่างกายยาวนานมากขึ้นเท่าไร ก็จะทำลายเนื้อเยื่อและกระทบต่อพันธุกรรมได้มากขึ้น
จนทำให้การขับสารปรอทออกจนหมด แม้จะทำให้อาการของโรคดีขึ้น แต่ก็จะไม่หายไป 100%
เด็กออทิสติกบางคนสามารถกลับมาได้เหมือนเด็กปกติแทบจะเรียกได้ว่า 100% เพราะพวกเขารีบขับสารปรอทตั้งแต่เด็ก
ในขณะที่เด็กที่อายุมากแล้ว จะกลับมาได้ไม่ 100% แต่ก็สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ด้วยตนเอง ออกไปทำงาน เรียนหนังสือได้
ช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด และอาจมีครอบครัวได้เหมือนคนปกติ
เพียงแต่ลักษณะและบุคลิกภายนอกดูไม่เหมือนคนปกติ ยังมีลักษณะแปลก ๆ ที่คนอื่นเห็นแล้วรู้อยู่เท่านั้น
นั่นทำให้การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตด้วยโดสน้อย ๆ มีค่าเท่ากับการอดอาหารแบบช่วงหรือ IF เลย
เพราะมันทำให้เราเข้าใจกลไกของร่างกายตามทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ ว่าร่างกายของเราโอเคกับอะไร
โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาหมอ ตอนนี้หลายคนคงรู้แล้วว่า ร่างมนุษย์ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้กินข้าวเช้า
เพราะหลายแสนปีที่ผ่านมา เราต้องใช้เวลาออกหาอาหารตั้งแต่เช้า และระบบร่างกายมันซัพพอร์ตให้อดในช่วงเวลานี้ บลา บลา บลา
จนถึงทุกวันนี้ก็ยังมีหมอที่เถียงเป็นเสียงแข็งว่ายังไง ๆ ก็ต้องกินข้าวเช้าเท่านั้น
ซึ่งมันถูกต้องบางส่วน เพราะสำหรับคนที่มีต่อมหมวกไตอ่อนแอ พวกเขาจะรู้สึกแย่มากถ้าขาดข้าวเช้า
แต่ทุกวันนี้ไม่มีใครฟังหมอแล้วในเรื่อง IF ถ้าอย่างทำ IF ก็สามารถหาข้อมูลแล้วเริ่มลองทำตามดูได้เลย
การขับสารปรอทตามระยะครึ่งชีวิตแบบโดสน้อยนี้ก็ทำแบบนั้นได้เช่นเดียวกัน
ในหนังสือ amalgam illness เป็นโปรโตคอลของ ดร.คัทเลอร์ ที่มีหลายทฤษฎีอยู่ในนั้น
หลายอย่างยังอยู่ในขั้นทดลอง หรือ เป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพ
แต่จุดที่แข็งที่สุดได้รับการพิสูจน์แล้วจริง ๆ ก็คือเรื่องของระยะครึ่งชีวิตกับสารพิษโลหะหนัก
เพราะคนหลายหมื่นคน ทั้งคนที่มีความรู้ คนที่เป็นหมอหรือนักวิทยาศาสตร์ เห็นด้วยกับเหตุผลในทฤษฎี
และทดลองทำกันจนสำเร็จได้จริง
ซึ่งหมอคีเลชันก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
เราต้องรู้จักธรรมชาติของปรอท ให้เหมือนกับที่เรารู้จักธรรมชาติของร่างกายแบบเรื่อง IF
ปรอทคือสารพิษที่ชอบไขมัน มันจะไม่ชอบอยู่ในเลือด
เมื่อเข้าสู่เลือดแล้วมันจะพุ่งตรงอย่างรวดเร็วไปหาอวัยวะที่เป็นไขมันประมาณ 95%
นั่นเป็นเหตุผลว่าทำไม ด้วยเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบันทำให้เราไม่สามารถเห็นปรอทในเลือด
หลังจากที่ฉีดวัคซีน หรือมีอมัลกัมอยู่ในฟัน
เมื่อปรอทเข้าไปสะสมอยู่ในอวัยวะที่เป็นไขมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมอง
มันจะสะสมเพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ มันจะขัดขวางระบบขับสารพิษและทำให้สารพิษอื่นๆ เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
สาเหตุที่โรคบางโรคเหมือนพันธุกรรมเหลือเกิน เพราะมีการถ่ายทอดภายในครอบครัวญาติพี่น้องได้
ก็เพราะปรอทและสารพิษสามารถส่งผ่านครรภ์จากแม่สู่ทารกในครรภ์ได้ สูงถึง 75-80% ของที่สะสมในตัวแม่
เมื่อเข้ามาสู่ตัวเด็ก ปริมาณสารพิษนั้นมันจะรุนแรงเป็นเท่าทวีคูณเมื่อเทียบกับที่สารพิษเวลาที่อยู่ในตัวแม่
เพราะเด็กยังเป็นแค่ตัวเล็ก ๆ เท่านั้น หลายคนที่ไม่ได้ค้านวัคซีน 100% จึงขอร้องให้ฉีดวัคซีนให้เด็กช้าลงหน่อย
เพราะร่างกายเด็กยังเล็กไม่เหมือนผู้ใหญ่ เด็กจะได้แข็งแรงพอและได้รับผลกระทบใด ๆ จากวัคซีนน้อยลง
เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องเบสิกทั้งนั้นเลย และมีเอกสารหรืองานวิจัยพูดถึงอยู่เรื่อย ๆ
แต่เพราะว่ามันเป็นการพูดถึงในทางทฤษฎี ที่ไม่ได้มีการมาประยุกต์ใช้ว่าจะเอามารักษาโรคยังไง
การแพทย์ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์จึงละเลยในข้อมูลข้อเท็จจริงเหล่านี้
และเนื่องจากระดับในสังคมของพวกเขาอยู่สูงมาก ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่มีเหตุผลกลายเป็นรอง
แต่กลับยึดถือความเชื่อในทางการแพทย์เป็นหลัก ที่เป็นความเชื่อต่อ ๆ กันมา
นี่จึงเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้โรคมากมายกลายเป็นโรคที่เรื้อรังรักษาไม่หาย
มันมีโรคมากมายที่ผมไม่ได้เขียนถึงในนี้ เพราะยิ่งเขียนถึงโรคมากขึ้นเท่าไหร่ ความน่าเชื่อถือยิ่งดูน้อยลงเท่านั้น
แต่ปรอทนั้นเกี่ยวข้องกับโรคต่าง ๆ มากมายจริง ๆ และมันมีคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ทั้งหมด
เพียงแต่เราไม่ได้เข้าไปอ่านเอง และเรามีนิสัยชอบรอให้หมอมาเล่าให้ฟัง
ถ้าเราอ่านเองเป็น เราจะรู้ข้อมูลหลาย ๆ อย่างพร้อมกับหมอ ทุกวันนี้หลายข่าวที่หมอประกาศ
มันก็คือข่าวที่ลงเป็นภาษาอังกฤษก่อนหน้าประมาณ 2-3 วันที่แล้วเป็นส่วนใหญ่
นี่จึงเป็นจุดด้อยของประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่ไม่รู้ภาษาอังกฤษ และไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจัง
ทำให้ต้องพึ่งท่อเล็ก ๆ เพื่อส่งต่อข้อมูลจากโลกภายนอกเข้ามาสู่ในประเทศ แล้วต้องหวังว่าข้อมูลดี ๆ จะถูกส่งมา
กระทู้ที่แล้วที่ผมเขียนถึงเจ้าของบริษัทเคมีคนหนึ่ง นั่นก็คือตัวอย่างของคนที่ออกไปหาข้อมูลเองได้
จากโลกภายนอก เว็บไทยกับเทศนั้นมีระดับข้อมูลที่ต่างกันมาก ในนี้พวกเรารู้น้อยกว่ามาก และข้อมูลถูกคุมเอาไว้มาก
คนที่มีความรู้ระดับนั้น เขาไม่ได้มองว่าหมออยู่สูงกว่าเขา เขาคิดว่าเขามีความสามารถที่จะหาข้อมูลอื่น ๆ
เพื่อรักษาลูกของเขาให้หายจากออทิสติกได้ และข้อมูลเรื่องปรอทมันสะดุดใจเขา
เพราะว่ามันเป็นเรื่องที่มีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เขาไม่จำเป็นต้องจำยอมเชื่อหมอจนเหมือนสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ที่ทุกวันนี้คนไข้ก็นอบน้อมต่อหมอจนหมอเหมือนชนชั้นที่อยู่บนฟ้าไปแล้ว
แน่นอนว่าหมอบอกว่าลูกของเขาเป็นออทิสติก และมันไม่มีทางรักษาให้หาย
นอกจากพอที่จะบำบัดให้อะไร ๆ ดีขึ้นมาบ้างพอสมควรเท่านั้น และต้องอยู่ไปกับโรคนี้ให้ได้
แต่รูปร่างหน้าตาของคนเป็นออทิสติกก็เหมือนคนปกติทุกอย่าง มีเพียงสมองเท่านั้นที่ทำงานมีปัญหา
มันไม่เหมือนกับดาวน์ซินโดรมที่ลักษณะทางกายได้รับผลกระทบไปด้วย
เขาต้องหาว่ามีสาเหตุอะไรที่กระทบต่อสมองได้ และสาเหตุอันนั้นมันน่าจะใช้หรือไม่ ที่ลูกเขาหรือครอบครัวเขาได้รับ
ถ้าเขาเลือกเชื่อหมอ มันไม่มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงได้ แต่ถ้าเขาได้รู้ข้อมูลที่หมออาจจะไม่รู้ และเช็คดูแล้วว่าไม่มีความเสี่ยง
ที่จะเป็นอันตราย การเลือกที่จะรักษามันคุ้มค่ามากกว่าการอยู่นิ่งเฉยเพื่อยอมรับชะตากรรมอย่างมาก
ผมก็เคยมาเล่าให้ฟังหลายรอบแล้วเหมือนกัน เรื่องของตัวผมเองที่ตัดสินใจค้นคว้าศึกษาเรื่องโรคติกส์-ทูเร็ตต์
เพราะลูกผมหัวส่ายไปมาตลอดเวลาตั้งแต่ลูกจบอนุบาล 2 กำลังจะขึ้นอนุบาล 3
เราคงทนอยู่กับโรคไปตลอดโดยไม่ทำอะไรสักอย่างไม่ได้แน่ ถ้าเป็นเป็นเด็กดีเชื่อหมอ วันนี้ที่ลูกจะขึ้นป.4 แล้ว
อาการคงจะไปไกลต่อไหน ๆ แล้ว อาจจะกระตุกทั้งตัวเลยก็ได้ สิ่งที่ทรมานมันมีมากกว่ากันก็คือ
เด็กต้องทนขนาดไหน มันก็เหมือนกับคนที่ไม่ทนแล้วออกมาประท้วงในหลาย ๆ ประเทศ สำเร็จบ้างไม่สำเร็จบ้าง
แต่มันก็เป็นการแสดงออกถึงความพยายามที่จะต่อสู้