กราบ : พระพุทธ ... กราบ : พระธรรม ... กราบ : พระสงฆ์
.
.
ศึกษา เรื่อง สมาธิ ภาวนา สมถะกรรมฐาน วิปัสสนากรรมฐาน ณาน กับ ญาณ ... เป็นอย่างไร ทำกันอย่างไร หนอ ... ลงมือ ปฎิบัติ เลย
ผลคือ เคร่งเครียด คิดๆ ทำๆ อยากรู้ อยากก้าวไปเร็วๆ ... เช่น ลอง รู้ ลมหายใจที่ระหว่างคิ้ว คือ หายใจเข้าออก จะรู้สึกได้ที่หว่างคิ้ว เครียดเลย
เช่น ลอง ทำสมาธิ สมถะ วิปัสสนา โดยไม่ให้จิตฟุ้งซ่าน พอจิตคิด ตัดเลย .. ผลคือ เคร่งเครียด เพ่ง .. เวียนหัว อยากอาเจียน .. ต้องหยุดพักจิต
ผลที่ได้อีกอย่าง คือ จิต กับ กาย ไม่สมดุล เช่น กาย ปฎิบัติ จนล้า แต่จิต ยังติดเพ่งอยู่ กระชาก กายที่ล้า จะหลับ ให้ดื่น
ต้องทำ สมาธิ สมถะ วิปัสสนา จน จิต ล้า ... ถึงจะได้ พักผ่อน หลับนอน ทั้ง กาย ทั้ง จิต
.
.
คิดใหม่ ทำใหม่ ปฎิบัติ ช่วงที่จิต กำลังสบายๆ ..
ช่วงเวลา นั่งเล่น นอนเล่น เดินเล่น ว่างเมื่อไหร่ ก็สังเกต รู้ ลมหายใจ เข้า - ออก
ช่วงแรก รู้สึกฝืนนิดๆ ... พอลองทำไปเรื่อยๆ ไม่รู้สึกฝืน ... รู้สึก มีความสุข กับการ รู้ ลมหายใจเข้าออก...ไม่ดิ้นรน หา ความสุข ทาง ตา หู ก็ได้
ลองฝึกยากขึ้นอีกนิด .. ฟังเพลงเบาๆ ที่เคยชอบ ไม่กี่นาที แต่ รู้ลมหายใจ เข้า - ออกไปด้วย ..ฝึกในสภาวะแวดล้อมใกล้เคียงดำเนินชีวิตจริงๆ
ผลที่ได้ เวลา ทำสมาธิ สมถะ วิปัสสนา ... รู้สึกว่า สติปัญญา พิจารณาธรรม สิ่งต่างๆ ได้ละเอียด ลึกซึ้ง มากขึ้น
แต่เวลาถอย ออกจาก สมาธิ สมถะ วิปัสสนา ยังมีอาการ กระตุกแรง ซาบซ่าน ไปเกือบทั้งตัว ไม่ค่อยนิ่มนวล... ต้องเพียร ศึกษา ฝึก ต่อไป
.
.
เป็นฆราวาส ยังมีหน้าที่ การงาน .. ฝึกสังเกตรู้ ลมหายใจ เข้า - ออก ช่วงเวลาที่ว่างๆ 3 - 5 นาที เก็บสะสมไป .. ไม่เครียด ไม่เพ่ง สบายๆ
แต่ละท่าน หน้าที่ การงาน แตกต่างกัน ก็ต้องหา วิธี แนวทางปฎิบัติ ที่เหมาะสม ต่างกัน ... ปฎิบัติในชีวิตประจำวัน แล้ว ผลคือ รู้สึกดี ดีขึ้น
.
.
คงมีประโยชน์บ้าง กับ ท่านที่เป็น ฆราวาส ศึกษาธรรมะ ปฎิบัติธรรม และ ศึกษา เรียนรู้ จากสิ่งที่ เกิดขึ้นจริงๆ ในการปฎิบัติ เหมือนกัน
.
... ประสบการณ์ ................ ฝึก ... รู้ ลมหายใจ ... ในชีวิตประจำวัน ...
.
.
ศึกษา เรื่อง สมาธิ ภาวนา สมถะกรรมฐาน วิปัสสนากรรมฐาน ณาน กับ ญาณ ... เป็นอย่างไร ทำกันอย่างไร หนอ ... ลงมือ ปฎิบัติ เลย
ผลคือ เคร่งเครียด คิดๆ ทำๆ อยากรู้ อยากก้าวไปเร็วๆ ... เช่น ลอง รู้ ลมหายใจที่ระหว่างคิ้ว คือ หายใจเข้าออก จะรู้สึกได้ที่หว่างคิ้ว เครียดเลย
เช่น ลอง ทำสมาธิ สมถะ วิปัสสนา โดยไม่ให้จิตฟุ้งซ่าน พอจิตคิด ตัดเลย .. ผลคือ เคร่งเครียด เพ่ง .. เวียนหัว อยากอาเจียน .. ต้องหยุดพักจิต
ผลที่ได้อีกอย่าง คือ จิต กับ กาย ไม่สมดุล เช่น กาย ปฎิบัติ จนล้า แต่จิต ยังติดเพ่งอยู่ กระชาก กายที่ล้า จะหลับ ให้ดื่น
ต้องทำ สมาธิ สมถะ วิปัสสนา จน จิต ล้า ... ถึงจะได้ พักผ่อน หลับนอน ทั้ง กาย ทั้ง จิต
.
.
คิดใหม่ ทำใหม่ ปฎิบัติ ช่วงที่จิต กำลังสบายๆ .. ช่วงเวลา นั่งเล่น นอนเล่น เดินเล่น ว่างเมื่อไหร่ ก็สังเกต รู้ ลมหายใจ เข้า - ออก
ช่วงแรก รู้สึกฝืนนิดๆ ... พอลองทำไปเรื่อยๆ ไม่รู้สึกฝืน ... รู้สึก มีความสุข กับการ รู้ ลมหายใจเข้าออก...ไม่ดิ้นรน หา ความสุข ทาง ตา หู ก็ได้
ลองฝึกยากขึ้นอีกนิด .. ฟังเพลงเบาๆ ที่เคยชอบ ไม่กี่นาที แต่ รู้ลมหายใจ เข้า - ออกไปด้วย ..ฝึกในสภาวะแวดล้อมใกล้เคียงดำเนินชีวิตจริงๆ
ผลที่ได้ เวลา ทำสมาธิ สมถะ วิปัสสนา ... รู้สึกว่า สติปัญญา พิจารณาธรรม สิ่งต่างๆ ได้ละเอียด ลึกซึ้ง มากขึ้น
แต่เวลาถอย ออกจาก สมาธิ สมถะ วิปัสสนา ยังมีอาการ กระตุกแรง ซาบซ่าน ไปเกือบทั้งตัว ไม่ค่อยนิ่มนวล... ต้องเพียร ศึกษา ฝึก ต่อไป
.
.
เป็นฆราวาส ยังมีหน้าที่ การงาน .. ฝึกสังเกตรู้ ลมหายใจ เข้า - ออก ช่วงเวลาที่ว่างๆ 3 - 5 นาที เก็บสะสมไป .. ไม่เครียด ไม่เพ่ง สบายๆ
แต่ละท่าน หน้าที่ การงาน แตกต่างกัน ก็ต้องหา วิธี แนวทางปฎิบัติ ที่เหมาะสม ต่างกัน ... ปฎิบัติในชีวิตประจำวัน แล้ว ผลคือ รู้สึกดี ดีขึ้น
.
.
คงมีประโยชน์บ้าง กับ ท่านที่เป็น ฆราวาส ศึกษาธรรมะ ปฎิบัติธรรม และ ศึกษา เรียนรู้ จากสิ่งที่ เกิดขึ้นจริงๆ ในการปฎิบัติ เหมือนกัน
.