คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
ข้อยกเว้นเรื่องค่าตกใจ
ปพพ.ม.๕๘๓ ถ้าลูกจ้าง
จงใจขัดคำสั่งของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายก็ดี หรือละเลยไม่นำพาต่อคำสั่งเช่นว่านั้นเป็นอาจิณก็ดี ละทิ้งการงานไปเสียก็ดี กระทำความผิดอย่างร้ายแรงก็ดี หรือทำประการอื่น อันไม่สมแก่การปฏิบัติหน้าที่ของตน ให้ลุล่วงไปโดยถูกต้อง และสุจริตก็ดี
ท่านว่านายจ้างจะไล่ออก โดยมิพักต้องบอกกล่าวล่วงหน้า หรือให้สินไหมทดแทนก็ได้
๑.จงใจขัดคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย และเป็นธรรม
๒.ละเลยไม่นำพาคำสั่งเป็นอาจิณ (ปพพ. ๕๘๓)
๓.ละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันควร (แม้ไม่เกิน ๓ วันทำงานติดต่อกัน ก็เลิกจ้างได้ แต่ต้องจ่ายค่าชดเชยตาม ม.๑๑๘)
*ลูกจ้างขาดงานในวันทำงาน ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๒๗๗๑/๓๐)
*ตกลงมาทำงานในวันหยุดแล้วไม่มา ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๔๐๗๒/๓๐)
*ลาไม่ชอบแล้วยังหยุดงาน ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๑๖๙/๒๗)
*ลาป่วยแล้วเงียบหายไป แต่ไม่ป่วยจริง ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๓๒๙/๒๖)
*ลาป่วยเท็จ นายจ้างไม่อนุมัติ ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๕๙๖๘/๓๐)
*ลงเวลาทำงานแล้วไม่เข้าทำงาน ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๑๑๑๐/๒๗)
*หยุดงานโดยไม่ชอบ ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๒๐๐๗-๒๖๐๘/๒๗)
*สั่งให้ย้ายโดยชอบ แต่ไม่ยอมไป ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๒๙๑๑/๒๘)
**ลูกจ้างไปติดต่อนิติกรศาลแรงงาน โดยไม่ลาให้ถูกต้องตามวิธีปฏิบัติในการขออนุมัติลา เพื่อกิจธุระอันจำเป็น ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน จึงเป็นการละทิ้งการงานไปเสีย นายจ้างเลิกจ้างโดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าได้ กรณีไม่อาจถือเอาการใช้สิทธิของศาลมาเป็นข้ออ้าง เพื่อไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับเกี่ยวกับทำงานได้
*เพิ่มฏีกาสุดท้าย !
ปพพ.ม.๕๘๓ ถ้าลูกจ้าง
จงใจขัดคำสั่งของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายก็ดี หรือละเลยไม่นำพาต่อคำสั่งเช่นว่านั้นเป็นอาจิณก็ดี ละทิ้งการงานไปเสียก็ดี กระทำความผิดอย่างร้ายแรงก็ดี หรือทำประการอื่น อันไม่สมแก่การปฏิบัติหน้าที่ของตน ให้ลุล่วงไปโดยถูกต้อง และสุจริตก็ดี
ท่านว่านายจ้างจะไล่ออก โดยมิพักต้องบอกกล่าวล่วงหน้า หรือให้สินไหมทดแทนก็ได้
*ขายเครื่องสำอางค์ในเวลางาน(๘๔๖/๓๗)
*ยุยงให้พนักงานขายดึงงาน(๑๗๒๓/๒๘)
*ใช้เวลาทำงานประกอบธุรกิจส่วนตัว(๒๒๙๙/๒๘)
*พูดจาหยาบคายกับลูกค้า(๓๕๙๑/๒๙)
*ยุยงให้พนักงานขายดึงงาน(๑๗๒๓/๒๘)
*ใช้เวลาทำงานประกอบธุรกิจส่วนตัว(๒๒๙๙/๒๘)
*พูดจาหยาบคายกับลูกค้า(๓๕๙๑/๒๙)
ถือเป็นการการทำอันไม่สมควรแก่การปฏิบัติหน้าที่ของตน
ให้ลุล่วงไปโดยสุจริต
ให้ลุล่วงไปโดยสุจริต
๑.จงใจขัดคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย และเป็นธรรม
๒.ละเลยไม่นำพาคำสั่งเป็นอาจิณ (ปพพ. ๕๘๓)
ลจ.ไปทำงานสาย ๙ ครั้ง ถูกเตือนแล้วยังมาสายอีก
ถือว่า ลจ.ละเลย ไม่นำพาต่อคำสั่งของนายจ้างเป็นอาจิณ
เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า (ฎ.๖๘๓/๒๕)
ถือว่า ลจ.ละเลย ไม่นำพาต่อคำสั่งของนายจ้างเป็นอาจิณ
เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า (ฎ.๖๘๓/๒๕)
๓.ละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันควร (แม้ไม่เกิน ๓ วันทำงานติดต่อกัน ก็เลิกจ้างได้ แต่ต้องจ่ายค่าชดเชยตาม ม.๑๑๘)
*ลูกจ้างขาดงานในวันทำงาน ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๒๗๗๑/๓๐)
*ตกลงมาทำงานในวันหยุดแล้วไม่มา ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๔๐๗๒/๓๐)
*ลาไม่ชอบแล้วยังหยุดงาน ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๑๖๙/๒๗)
*ลาป่วยแล้วเงียบหายไป แต่ไม่ป่วยจริง ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๓๒๙/๒๖)
*ลาป่วยเท็จ นายจ้างไม่อนุมัติ ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๕๙๖๘/๓๐)
*ลงเวลาทำงานแล้วไม่เข้าทำงาน ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๑๑๑๐/๒๗)
*หยุดงานโดยไม่ชอบ ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๒๐๐๗-๒๖๐๘/๒๗)
*สั่งให้ย้ายโดยชอบ แต่ไม่ยอมไป ถือว่าละทิ้งหน้าที่(๒๙๑๑/๒๘)
**ลูกจ้างไปติดต่อนิติกรศาลแรงงาน โดยไม่ลาให้ถูกต้องตามวิธีปฏิบัติในการขออนุมัติลา เพื่อกิจธุระอันจำเป็น ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน จึงเป็นการละทิ้งการงานไปเสีย นายจ้างเลิกจ้างโดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าได้ กรณีไม่อาจถือเอาการใช้สิทธิของศาลมาเป็นข้ออ้าง เพื่อไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับเกี่ยวกับทำงานได้
***ฎีกาที่ ๒๕๖๔/๒๕๕๗
ลูกจ้างใช้คอมพิวเตอร์ของบริษัท เล่นอินเตอร์เน็ท แชต
พูดคุยเรื่องส่วนตัวเป็นประจำเกือบทุกวัน วันละเป็นชั่วโมงก็มี
ถือว่าใช้เวลาทำงานของบริษัท ในเรื่องไม่เกี่ยวกับงาน...
ลจ.ทำงานด้านบัญชี จะต้องมีความละเอียดรอบคอบ
มิฉะนั้น จะทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายได้
การที่โจทก์ใช้เวลางานของจำเลยทำเรื่องส่วนตัว
ย่อมทำให้จำเลยได้รับความเสียหาย
เป็นการกระทำที่ไม่สมควรแก่การปฏิบัติหน้าที่
ให้ลุล่วงโดยถูกต้องและสุจริต
จึงเป็นการเลิกจ้างที่มีเหตุอันสมควร
ไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
ลูกจ้างใช้คอมพิวเตอร์ของบริษัท เล่นอินเตอร์เน็ท แชต
พูดคุยเรื่องส่วนตัวเป็นประจำเกือบทุกวัน วันละเป็นชั่วโมงก็มี
ถือว่าใช้เวลาทำงานของบริษัท ในเรื่องไม่เกี่ยวกับงาน...
ลจ.ทำงานด้านบัญชี จะต้องมีความละเอียดรอบคอบ
มิฉะนั้น จะทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายได้
การที่โจทก์ใช้เวลางานของจำเลยทำเรื่องส่วนตัว
ย่อมทำให้จำเลยได้รับความเสียหาย
เป็นการกระทำที่ไม่สมควรแก่การปฏิบัติหน้าที่
ให้ลุล่วงโดยถูกต้องและสุจริต
จึงเป็นการเลิกจ้างที่มีเหตุอันสมควร
ไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
****คำพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๙๖/๒๕๔๖
โจทก์บอกเลิกสัญญานาย ช. เพราะเหตุว่าในระหว่างทดลองงาน
นาย ช.มาทำงานสายเป็นประจำ
โดยในช่วงระหว่างวันที่ ๒ เมย. ๔๔ ถึงวันที่ ๑๑ มิย. ๔๔
มาสายถึง ๓๕ ครั้ง โจทก์ให้โอกาสปรับปรุงตัวใหม่
แต่นาย ช.ยังคงประพฤติเช่นเดิม
ชอบที่โจทก์จะประเมินผลงานว่า นาย ช.ไม่ผ่านการทดลองงาน
พฤติการณ์ดังกล่าว เป็นกรณีนาย ช.จงใจขัดคำสั่งของโจทก์
อันชอบด้วยกฎหมาย หรือละเลยไม่นำพาต่อคำสั่งเช่นว่านั้นเป็นอาจิณ
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๕๘๓
โจทก์มีสิทธิเลิกจ้าง นาย ช. ได้ โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
โจทก์บอกเลิกสัญญานาย ช. เพราะเหตุว่าในระหว่างทดลองงาน
นาย ช.มาทำงานสายเป็นประจำ
โดยในช่วงระหว่างวันที่ ๒ เมย. ๔๔ ถึงวันที่ ๑๑ มิย. ๔๔
มาสายถึง ๓๕ ครั้ง โจทก์ให้โอกาสปรับปรุงตัวใหม่
แต่นาย ช.ยังคงประพฤติเช่นเดิม
ชอบที่โจทก์จะประเมินผลงานว่า นาย ช.ไม่ผ่านการทดลองงาน
พฤติการณ์ดังกล่าว เป็นกรณีนาย ช.จงใจขัดคำสั่งของโจทก์
อันชอบด้วยกฎหมาย หรือละเลยไม่นำพาต่อคำสั่งเช่นว่านั้นเป็นอาจิณ
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๕๘๓
โจทก์มีสิทธิเลิกจ้าง นาย ช. ได้ โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
*เพิ่มฏีกาสุดท้าย !
แสดงความคิดเห็น
งาน CallCenter ชอบบังคับพนักงานให้ออกไม่บอกล่วงหน้า แจ้งกรมแรงงานได้นะคะ ได้เงินค่าตกใจด้วย
ปกติการจะให้ออกควรแจ้งล่วงหน้า 1 ดือน หรือหากจะให้ออกเลยก็ต้องให้เงินเท่าเงินเดือน 1 เดือนเพื่อให้เวลาพนักงานหางานใหม่และมีเงินดำรงค์ชีพขณะหางานใหม่ 1 เดือน ตามกฎหมาย ถ้าออกโดยไม่ได้ผิดหลักกฎหมายแรงงาน ยังไงฝ่ายบริษัทก็ผิด จะขึ้นศาลยังไงก็แพ้ค่ะ
งาน CallCenter มักจะหาคนไปทดลองเดือนหรือไม่ถึงเดือนแล้วให้ออก ถ้าทำแบบนี้คนก็เดือดร้อน เสียเวลาหางานมั่นคง มันผิดหลักแรงงาน
-ถ้าคุณไม่ได้ทำผิดเช่น ขาดงานโดยไม่บอก หรือทำขโมย (ลองไปอ่านหลักกฎหมายแรงงาน) แล้วถ้าเขาให้ออกคือผิดกฎหมายแรงงานทันทีค่ะ
-ห้ามเซนต์ใบลาออกเด็ดขาด ไปแจ้งกรมแรงงานก่อน ไม่งั้นอดได้เงินค่ะ
-ปกติถ้าไม่ใช่ช่วงโควิท กรมแรงงานจะดำเนินเรื่องให้ประมาณ 1 สัปดาห์ค่ะ ส่วนศาลแรงงานไม่เกิน 3-4 เดือน คิวยาว