พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค [ฉบับหลวง]
[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้
ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมหน่าย
แม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว
ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป
แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขาร แม้ในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลาย
กำหนัด เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็รู้ว่า ‘หลุดพ้นแล้ว’
รู้ชัดว่า ‘ชาติสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่น
เพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป”
อัสสุตวาสูตรที่ ๑ จบ
ด้านบนมาจากฉบับหลวง ด้านล่างมาจากมหาจุฬาฯ ความแตกต่างก็คือที่ขีดเส้นใต้ไว้
- เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว
- เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็รู้ว่า ‘หลุดพ้นแล้ว’
เทียบบาลีอักษรไทย
[๒๓๔] เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก รูปสฺมึปิ
นิพฺพินฺทติ เวทนายปิ นิพฺพินฺทติ สญฺญายปิ นิพฺพินฺทติ
@เชิงอรรถ: ๑ ม. ยุ. ปวเน ฯ
สงฺขาเรสุปิ นิพฺพินฺทติ วิญฺญาณสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ
วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ ฯ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติ ฯ
ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณียํ นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ
ปชานาตีติ ฯ ปฐมํ ฯ
เทียบ Roman Script
[234] Evaṃ passaṃ bhikkhave sutavā ariyasāvako rūpasmiṃpi
nibbindati vedanāyapi nibbindati saññāyapi nibbindati
@Footnote: 1 Ma. Yu. pavane.
Saṅkhāresupi nibbindati viññāṇasmiṃpi nibbindati nibbindaṃ
virajjati virāgā vimuccati . vimuttasmiṃ vimuttamiti ñāṇaṃ hoti .
Khīṇā jāti vusitaṃ brahmacariyaṃ kataṃ karaṇīyaṃ nāparaṃ itthattāyāti
pajānātīti. Paṭhamaṃ.
จิต มายังไง จิตหลุดพ้นแล้วจากอะไรอ่ะ
"จิต" Citta มายังไง
[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้
ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมหน่าย
แม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว
ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป
แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขาร แม้ในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลาย
กำหนัด เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็รู้ว่า ‘หลุดพ้นแล้ว’
รู้ชัดว่า ‘ชาติสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่น
เพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป”
อัสสุตวาสูตรที่ ๑ จบ
ด้านบนมาจากฉบับหลวง ด้านล่างมาจากมหาจุฬาฯ ความแตกต่างก็คือที่ขีดเส้นใต้ไว้
- เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว
- เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็รู้ว่า ‘หลุดพ้นแล้ว’
เทียบบาลีอักษรไทย
[๒๓๔] เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก รูปสฺมึปิ
นิพฺพินฺทติ เวทนายปิ นิพฺพินฺทติ สญฺญายปิ นิพฺพินฺทติ
@เชิงอรรถ: ๑ ม. ยุ. ปวเน ฯ
สงฺขาเรสุปิ นิพฺพินฺทติ วิญฺญาณสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ นิพฺพินฺทํ
วิรชฺชติ วิราคา วิมุจฺจติ ฯ วิมุตฺตสฺมึ วิมุตฺตมิติ ญาณํ โหติ ฯ
ขีณา ชาติ วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ กตํ กรณียํ นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ
ปชานาตีติ ฯ ปฐมํ ฯ
เทียบ Roman Script
[234] Evaṃ passaṃ bhikkhave sutavā ariyasāvako rūpasmiṃpi
nibbindati vedanāyapi nibbindati saññāyapi nibbindati
@Footnote: 1 Ma. Yu. pavane.
Saṅkhāresupi nibbindati viññāṇasmiṃpi nibbindati nibbindaṃ
virajjati virāgā vimuccati . vimuttasmiṃ vimuttamiti ñāṇaṃ hoti .
Khīṇā jāti vusitaṃ brahmacariyaṃ kataṃ karaṇīyaṃ nāparaṃ itthattāyāti
pajānātīti. Paṭhamaṃ.
จิต มายังไง จิตหลุดพ้นแล้วจากอะไรอ่ะ