คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
? อยากทราบว่าอัลกุรอานประทานลงมา ณ เวลานั้นทีเดียวจนครบทั้งซูเราะห์หรือเปล่าครับ
# มี บทที่ลงมาทีเดียว
- รู้ได้จากการอ่านบิสมิลลาฮ์ ของท่านนบี (และเริ่มต้นบทใหม่ด้วยบิสมิลลาฮ์)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
? ถ้าเป็นแบบหลังศอฮาบะห์ที่รวบรวมกุรอานรู้ได้ไงครับว่าอายะห์นี้ควรอยู่กับซูเราะห์นี้
## อันนี้สรุปภาษาไทย ท้ายๆหน้า https://www.islammore.com/view/2535
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้## การเรียงอายะห์(โองการ) ##
* ทูตสวรรค์เป็นผู้บอก ให้วางไว้ตำแหน่งใด
عن عثمان بن أبي العاص قال : " كنت جالسا عند رسول الله -صلى الله عليه وسلم- إذ شخص ببصره ثم صوبه ، ثم قال : أتاني جبريل فأمرني أن أضع هذه الآية هذا الموضع من هذه السورة : إن الله يأمر بالعدل والإحسان وإيتاء ذي القربى . . . إلى آخرها “ .
* ทูตสวรรค์ มาทบทวนอัลกุรอ่านกับนบีเสมอในทุกเดือนรอมดอน และในปีสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิตถึง2ครั้ง
وكان جبريل يعارض رسول الله -صلى الله عليه وسلم- بالقرآن كل عام مرة في رمضان ، وعارضه في العام الأخير من حياته مرتين ، وكان ذلك العرض على الترتيب المعروف الآن .
* นบีบอกกล่าวไว้ เช่น คุณค่าของการอ่าน 10โองการแรก และ 10 โองการสุดท้ายของบท กะฮ์ฟิ(ชาวถ้ำ)
عن أبي الدرداء مرفوعا : " من حفظ عشر آيات من أول سورة الكهف عصم من الدجال " وفي لفظ : " من قرأ العشر الأواخر من سورة الكهف . . . “ ، كما جاءت الأحاديث الدالة على آية بعينها في موضعها ، عن عمر قال : ما سألت النبي -صلى الله عليه وسلم- عن شيء أكثر مما سألته عن الكلالة ، حتى طعن بأصبعه في صدري وقال : " تكفيك آية الصيف التي في آخر سورة النساء
* นบีอ่านในการปฏิบัติละหมาด เช่น เช้าวันศุกร์ อ่าน บท อะลีฟลามมีม ซายาดะ
وثبتت قراءة رسول الله -صلى الله عليه وسلم- لسور عديدة بترتيب آياتها في الصلاة ، أو في خطبة الجمعة ، كسورة البقرة وآل عمران والنساء ، وصح أنه قرأ " الأعراف " في المغرب ، وأنه كان يقرأ في صبح الجمعة :الم تنزيل الكتاب لا ريب " السجدة “ ، و هل أتى على الإنسان " الدهر “ وكان يقرأ سورة " ق " في الخطبة ، ويقرأ " الجمعة " و " المنافقون " في صلاة الجمعة .
************************************
## การเรียงซูเราะห์(บท) ##
* เรียงมาเช่นเดียวกับอายะห์(โองการ) ในสมัยท่านนบี
* เรียงตามการประทาน(วะฮี)
สุลัยมาน บิน บิลาล กล่าวว่า ฉันเคยได้ยินท่านรอบีอะถูกถามว่า ทำไมซูเราะห์(บะกอเราะ / อาลิอมรอน)บทมะดะนียะห์ถึงมาอยู่ก่อนบทมักกียะห์ ซึ่งบท(มักกียะห์)ถูกประทานมาก่อน(มะดะนียะห์)ถึง80กว่าบทเลยน้ะ ท่านรอบีอะตอบว่า ที่สองบท(มะดะนีย์)เรียงก่อน(มักกีย์)เพราะ กุรอานถูกเรียงตามความรู้ของผู้ที่เรียงมัน
وروي من طريق ابن وهب عن سليمان بن بلال قال : " سمعت ربيعة يسأل : لم قدمت البقرة وآل عمران وقد نزل قبلهما بضع وثمانون سورة مكية ، وإنما أنزلتا بالمدينة ؟ فقال : قدمتا وألف القرآن على علم ممن ألفه به ، ثم قال : فهذا مما ينتهى إليه ولا يسأل عنه
ที่มา :
https://islamweb.net/ar/library/index.php?page=bookcontents&ID=44&bk_no=246&flag=1
# มี บทที่ลงมาทีเดียว
- รู้ได้จากการอ่านบิสมิลลาฮ์ ของท่านนบี (และเริ่มต้นบทใหม่ด้วยบิสมิลลาฮ์)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
قال ابن عباس: "كان النبيّ (صلى الله عليه وآله وسلم) يعرف فصل سورة بنزول بسم الله الرحمن الرحيم، فيعرف أنّ السورة قد ختمت وابتدأت سورة أّخرى
? ถ้าเป็นแบบหลังศอฮาบะห์ที่รวบรวมกุรอานรู้ได้ไงครับว่าอายะห์นี้ควรอยู่กับซูเราะห์นี้
## อันนี้สรุปภาษาไทย ท้ายๆหน้า https://www.islammore.com/view/2535
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้## การเรียงอายะห์(โองการ) ##
* ทูตสวรรค์เป็นผู้บอก ให้วางไว้ตำแหน่งใด
عن عثمان بن أبي العاص قال : " كنت جالسا عند رسول الله -صلى الله عليه وسلم- إذ شخص ببصره ثم صوبه ، ثم قال : أتاني جبريل فأمرني أن أضع هذه الآية هذا الموضع من هذه السورة : إن الله يأمر بالعدل والإحسان وإيتاء ذي القربى . . . إلى آخرها “ .
وكان جبريل يعارض رسول الله -صلى الله عليه وسلم- بالقرآن كل عام مرة في رمضان ، وعارضه في العام الأخير من حياته مرتين ، وكان ذلك العرض على الترتيب المعروف الآن .
عن أبي الدرداء مرفوعا : " من حفظ عشر آيات من أول سورة الكهف عصم من الدجال " وفي لفظ : " من قرأ العشر الأواخر من سورة الكهف . . . “ ، كما جاءت الأحاديث الدالة على آية بعينها في موضعها ، عن عمر قال : ما سألت النبي -صلى الله عليه وسلم- عن شيء أكثر مما سألته عن الكلالة ، حتى طعن بأصبعه في صدري وقال : " تكفيك آية الصيف التي في آخر سورة النساء
وثبتت قراءة رسول الله -صلى الله عليه وسلم- لسور عديدة بترتيب آياتها في الصلاة ، أو في خطبة الجمعة ، كسورة البقرة وآل عمران والنساء ، وصح أنه قرأ " الأعراف " في المغرب ، وأنه كان يقرأ في صبح الجمعة :الم تنزيل الكتاب لا ريب " السجدة “ ، و هل أتى على الإنسان " الدهر “ وكان يقرأ سورة " ق " في الخطبة ، ويقرأ " الجمعة " و " المنافقون " في صلاة الجمعة .
## การเรียงซูเราะห์(บท) ##
* เรียงมาเช่นเดียวกับอายะห์(โองการ) ในสมัยท่านนบี
* เรียงตามการประทาน(วะฮี)
สุลัยมาน บิน บิลาล กล่าวว่า ฉันเคยได้ยินท่านรอบีอะถูกถามว่า ทำไมซูเราะห์(บะกอเราะ / อาลิอมรอน)บทมะดะนียะห์ถึงมาอยู่ก่อนบทมักกียะห์ ซึ่งบท(มักกียะห์)ถูกประทานมาก่อน(มะดะนียะห์)ถึง80กว่าบทเลยน้ะ ท่านรอบีอะตอบว่า ที่สองบท(มะดะนีย์)เรียงก่อน(มักกีย์)เพราะ กุรอานถูกเรียงตามความรู้ของผู้ที่เรียงมัน
وروي من طريق ابن وهب عن سليمان بن بلال قال : " سمعت ربيعة يسأل : لم قدمت البقرة وآل عمران وقد نزل قبلهما بضع وثمانون سورة مكية ، وإنما أنزلتا بالمدينة ؟ فقال : قدمتا وألف القرآن على علم ممن ألفه به ، ثم قال : فهذا مما ينتهى إليه ولا يسأل عنه
ที่มา :
https://islamweb.net/ar/library/index.php?page=bookcontents&ID=44&bk_no=246&flag=1
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
สอบถามเรื่องการประทานอัลกุรอานของอัลลอฮฺแก่ท่านนบีมูฮัมหมัด