อ่านต่อได้ทึ่
https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/902070
วิกฤติเศรษฐกิจไทยจากพิษโควิด-19 ต้องบอบช้ำมากขึ้นจาก "หนี้ครัวเรือน" ที่สูงสุดในรอบ 18 ปี สะท้อนจากสถิติ Q2/63 แบงก์ชาติชี้สูงถึง 84% ของจีดีพี ขณะที่ตลาดแรงงานในระยะข้างหน้ายังน่าห่วง ดังนั้นจึงนับเป็นหนึ่งในความเปราะบางทางเศรษฐกิจที่ต้องเฝ้าจับตา
วิกฤติโรคระบาดที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ “โควิด-19” ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยอย่างรุนแรง และสร้างความเปราะบางในหลายๆ ภาคส่วนเศรษฐกิจ โดยหนึ่งในภาคส่วนเศรษฐกิจที่มี “ความเปราะบาง” เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว และกำลังถูกวิกฤติครั้งนี้เข้ามา “ซ้ำเติม” ทำให้ปัญหาดูหนักหนามากขึ้น คือ “หนี้” ของภาคครัวเรือน
ข้อมูล “หนี้ครัวเรือน” ล่าสุด ณ สิ้นไตรมาส 2 ปี 2563 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) รายงานออกมา คือ 84% ต่อตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) เป็นตัวเลขที่สูงสุดในรอบ 18 ปี นับตั้งแต่เก็บสถิติ หรือหากจะบอกว่าเป็นตัวเลขที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ก็ดูจะไม่ผิดนัก ...ในภาคการคลัง เราบอกว่า กรอบความยั่งยืนทางการคลังที่ดีระดับหนี้ “ไม่ควรเกิน” 60% ต่อจีดีพี หากเอานิยามนี้มาใช้กับ “ภาคครัวเรือน” คงต้องยอมรับว่า หนี้ครัวเรือนของไทยเลยจุดนั้นมาไกลมากแล้ว
วิกฤติ ‘หนี้ครัวเรือน' สูงสุดในรอบ18ปีอีกความเปราะบางเศรษฐกิจไทยกำลังตามมา
https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/902070
วิกฤติเศรษฐกิจไทยจากพิษโควิด-19 ต้องบอบช้ำมากขึ้นจาก "หนี้ครัวเรือน" ที่สูงสุดในรอบ 18 ปี สะท้อนจากสถิติ Q2/63 แบงก์ชาติชี้สูงถึง 84% ของจีดีพี ขณะที่ตลาดแรงงานในระยะข้างหน้ายังน่าห่วง ดังนั้นจึงนับเป็นหนึ่งในความเปราะบางทางเศรษฐกิจที่ต้องเฝ้าจับตา
วิกฤติโรคระบาดที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ “โควิด-19” ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยอย่างรุนแรง และสร้างความเปราะบางในหลายๆ ภาคส่วนเศรษฐกิจ โดยหนึ่งในภาคส่วนเศรษฐกิจที่มี “ความเปราะบาง” เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว และกำลังถูกวิกฤติครั้งนี้เข้ามา “ซ้ำเติม” ทำให้ปัญหาดูหนักหนามากขึ้น คือ “หนี้” ของภาคครัวเรือน
ข้อมูล “หนี้ครัวเรือน” ล่าสุด ณ สิ้นไตรมาส 2 ปี 2563 ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) รายงานออกมา คือ 84% ต่อตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) เป็นตัวเลขที่สูงสุดในรอบ 18 ปี นับตั้งแต่เก็บสถิติ หรือหากจะบอกว่าเป็นตัวเลขที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ก็ดูจะไม่ผิดนัก ...ในภาคการคลัง เราบอกว่า กรอบความยั่งยืนทางการคลังที่ดีระดับหนี้ “ไม่ควรเกิน” 60% ต่อจีดีพี หากเอานิยามนี้มาใช้กับ “ภาคครัวเรือน” คงต้องยอมรับว่า หนี้ครัวเรือนของไทยเลยจุดนั้นมาไกลมากแล้ว