ในหลายๆ แห่งแทบ 99.99% มักใช้เกณฑ์อายุ 35 และ 40 ในการรับเข้าทำงานใหม่
อยากให้ช่วยแชร์เหตุผลในการเลือกที่จะ "ไม่รับ" หน่อย เพราะส่วนตัว เราก็มองว่า วัยนี้นั้น ไม่ได้อายุมากเลย
และอีกส่วนคือ ถ้าเลือกไม่รับคนวัยนี้เข้าทำงาน เพราะตัวเลือกแค่วัย แล้วถ้าถึงจุดหนึ่ง คุณตกงานเมื่ออายุเท่านั้น คุณมองว่า มันแฟร์หรือเปล่า ถ้าหากคุณหางานไม่ได้ เพราะอายุเช่นกัน
ถ้าเทียบกับ เวลาที่ จบมาอายุ 22 ถ้าเลือกจะรับคนแค่อายุ 35 และ 40 ปีเป็นเกณฑ์ จะเท่ากับว่า เวลาทำงานเอกชนจริงๆ มีแค่ 13 -18 ปีเท่านั้น
เชื่อว่าหลายๆคน บางที หนี้กยศ. ยังใช้เงินกู้ไม่หมดด้วยซ้ำ ไม่ต้องพูดถึงการตั้งตัวได้ ก่อนอายุ 40
หากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ถามว่า ใครบ้าง พร้อมรับมือตกงาน หลังอายุ 35 40 บ้าง
เมื่อไม่มีตำแหน่งงาน สำหรับคนอายุเกิน 35 40
/เพิ่มเติม
ในกรณีที่ต้องเปลี่ยนสายงานด้วย หากหางานสายงานเดิมไม่มีใครรับ หรือเป็นวุฒิที่ไม่เป็นที่ต้องการของตลาดอีกต่อไป
ปัจจัยค่อนข้างกว้าง
เช่นว่า จบพยาบาลมา แล้วไม่ไหวกับความเครียด ในระบบการทำงานโรงพยาบาล ก็เหมือนตัดโอกาสทันทีหรือเปล่า? เมื่อมองกว้างๆ เพราะอาจไม่ได้ต้องการทำงานในสายงานนี้ แต่แรก
ถามเหตุผลนายจ้างทั้งหลาย+HR เพราะอะไร ถึงไม่ต้องการจ้างพนักงานใหม่ ที่อายุเกิน 35 และ 40 ?
อยากให้ช่วยแชร์เหตุผลในการเลือกที่จะ "ไม่รับ" หน่อย เพราะส่วนตัว เราก็มองว่า วัยนี้นั้น ไม่ได้อายุมากเลย
และอีกส่วนคือ ถ้าเลือกไม่รับคนวัยนี้เข้าทำงาน เพราะตัวเลือกแค่วัย แล้วถ้าถึงจุดหนึ่ง คุณตกงานเมื่ออายุเท่านั้น คุณมองว่า มันแฟร์หรือเปล่า ถ้าหากคุณหางานไม่ได้ เพราะอายุเช่นกัน
ถ้าเทียบกับ เวลาที่ จบมาอายุ 22 ถ้าเลือกจะรับคนแค่อายุ 35 และ 40 ปีเป็นเกณฑ์ จะเท่ากับว่า เวลาทำงานเอกชนจริงๆ มีแค่ 13 -18 ปีเท่านั้น
เชื่อว่าหลายๆคน บางที หนี้กยศ. ยังใช้เงินกู้ไม่หมดด้วยซ้ำ ไม่ต้องพูดถึงการตั้งตัวได้ ก่อนอายุ 40
หากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ถามว่า ใครบ้าง พร้อมรับมือตกงาน หลังอายุ 35 40 บ้าง
เมื่อไม่มีตำแหน่งงาน สำหรับคนอายุเกิน 35 40
/เพิ่มเติม
ในกรณีที่ต้องเปลี่ยนสายงานด้วย หากหางานสายงานเดิมไม่มีใครรับ หรือเป็นวุฒิที่ไม่เป็นที่ต้องการของตลาดอีกต่อไป
ปัจจัยค่อนข้างกว้าง
เช่นว่า จบพยาบาลมา แล้วไม่ไหวกับความเครียด ในระบบการทำงานโรงพยาบาล ก็เหมือนตัดโอกาสทันทีหรือเปล่า? เมื่อมองกว้างๆ เพราะอาจไม่ได้ต้องการทำงานในสายงานนี้ แต่แรก