สมัยที่ 65 (พ.ศ.2555)
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ข้อ.10 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม)
...........................................................................
ในการบังคับคดีของศาลแพ่งคดีหนึ่ง
โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดีไปยึดทรัพย์สินของจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา 2 รายการ คือ ที่ดินราคา 400,000 บาท กับรถยนต์ราคา 200,000 บาท
และอายัดเงิน 300,000 บาท จากบุคคลภายนอกที่ถึงกำหนดชำระให้แก่จำเลย ซึ่งต่อมาบุคคลภายนอกได้ส่งเงินจำนวนดังกล่าวมาไว้ที่ศาลแล้ว
ปรากฏว่านายแดงยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์
นายขาวยื่นคำร้องขอให้ปล่อยรถยนต์ที่ยึด
และนายเขียวยื่นคำร้องขอให้ปล่อยเงิน 300,000 บาท ที่บุคคลภายนอกส่งมายังศาลตามหมายอายัดนายสุเทพ หนึ่งในองค์คณะผู้พิพากษาซึ่งพิจารณาพิพากษาคดีนี้ พิจารณาคำร้องทั้งสามฉบับแล้ว มีคำสั่งอนุญาตให้นายแดงเข้าเฉลี่ยทรัพย์ได้
และมีคำสั่งให้ปล่อยรถยนต์ที่ยึดตามคำร้องของนายขาว
แต่ยกคำร้องของนายเขียวโดยวินิจฉัยว่า การขอให้ปล่อยทรัพย์ที่ยึดจะมีได้ก็แต่เฉพาะการยึดทรัพย์เพื่อขายทอดตลาดเท่านั้น
ให้วินิจฉัยว่า คำสั่งของนายสุเทพชอบด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรมหรือไม่ .?
...........................................................................................
คือสงสัยเฉพาะประเด็นเรื่องปล่อยทรัพย์
ทำไมทีนายขาวได้แล้วนายเขียวทำไมไม่ได้.?
นายขาวไม่เกินสามแสนส่วนนายเขียวก็สามแสนพอดีก็ไม่เห็นเกินอัตราที่กำหนดนี่นา.!
แล้วของนายขาวก็เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดีเหมือนกันไม่ใช่หรือ.?
ทำไมทีนายขาวได้แล้วนายเขียวทำไมไม่ได้.?
คือธงคำตอบ ( เฉพาะในส่วนปล่อยทรัพย์) บอกว่า คำสั่งที่ให้ปล่อยรถยนต์ที่ยึดตามคำร้องของนายขาวและยกคำร้องของนายเขียว เป็นคำสั่งที่ชอบ
ทั้ง2 กรณี
คือเราสงสัยว่า ในเมื่อกรณีนายขาวและนายเขียว เป็นการขอปล่อยทรัพย์ทั้ง 2 กรณี และเป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดีทั้ง 2 กรณี
ศาลน่าจะยกคำร้องทั้ง 2 กรณี เพราะไม่อยู่ในอำนาจของผู้พิพากษาคนเดียว
ทำไมกรณีนายขาวได้แล้วนายเขียวทำไมไม่ได้.?
ขอความกระจ่างจากท่านผู้รู้ด้วยค่ะ
ขอบพระคุณมากๆค่ะ ( tag อาจจะไม่ค่อยตรงแต่พยายามให้ถึงท่านนักกฎหมายมากที่สุดค่ะ )
มีข้อสงสัยกรณีคำถาม ข้อ.10 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม สมัยที่ 65 (พ.ศ.2555) ค่ะ ขอความรู้ด้วยนะคะ
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ข้อ.10 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม)
...........................................................................
ในการบังคับคดีของศาลแพ่งคดีหนึ่ง
โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดีไปยึดทรัพย์สินของจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา 2 รายการ คือ ที่ดินราคา 400,000 บาท กับรถยนต์ราคา 200,000 บาท
และอายัดเงิน 300,000 บาท จากบุคคลภายนอกที่ถึงกำหนดชำระให้แก่จำเลย ซึ่งต่อมาบุคคลภายนอกได้ส่งเงินจำนวนดังกล่าวมาไว้ที่ศาลแล้ว
ปรากฏว่านายแดงยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์
นายขาวยื่นคำร้องขอให้ปล่อยรถยนต์ที่ยึด
และนายเขียวยื่นคำร้องขอให้ปล่อยเงิน 300,000 บาท ที่บุคคลภายนอกส่งมายังศาลตามหมายอายัดนายสุเทพ หนึ่งในองค์คณะผู้พิพากษาซึ่งพิจารณาพิพากษาคดีนี้ พิจารณาคำร้องทั้งสามฉบับแล้ว มีคำสั่งอนุญาตให้นายแดงเข้าเฉลี่ยทรัพย์ได้
และมีคำสั่งให้ปล่อยรถยนต์ที่ยึดตามคำร้องของนายขาว
แต่ยกคำร้องของนายเขียวโดยวินิจฉัยว่า การขอให้ปล่อยทรัพย์ที่ยึดจะมีได้ก็แต่เฉพาะการยึดทรัพย์เพื่อขายทอดตลาดเท่านั้น
ให้วินิจฉัยว่า คำสั่งของนายสุเทพชอบด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรมหรือไม่ .?
...........................................................................................
คือสงสัยเฉพาะประเด็นเรื่องปล่อยทรัพย์
ทำไมทีนายขาวได้แล้วนายเขียวทำไมไม่ได้.?
นายขาวไม่เกินสามแสนส่วนนายเขียวก็สามแสนพอดีก็ไม่เห็นเกินอัตราที่กำหนดนี่นา.!
แล้วของนายขาวก็เป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดีเหมือนกันไม่ใช่หรือ.?
ทำไมทีนายขาวได้แล้วนายเขียวทำไมไม่ได้.?
คือธงคำตอบ ( เฉพาะในส่วนปล่อยทรัพย์) บอกว่า คำสั่งที่ให้ปล่อยรถยนต์ที่ยึดตามคำร้องของนายขาวและยกคำร้องของนายเขียว เป็นคำสั่งที่ชอบ
ทั้ง2 กรณี
คือเราสงสัยว่า ในเมื่อกรณีนายขาวและนายเขียว เป็นการขอปล่อยทรัพย์ทั้ง 2 กรณี และเป็นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดีทั้ง 2 กรณี
ศาลน่าจะยกคำร้องทั้ง 2 กรณี เพราะไม่อยู่ในอำนาจของผู้พิพากษาคนเดียว
ทำไมกรณีนายขาวได้แล้วนายเขียวทำไมไม่ได้.?
ขอความกระจ่างจากท่านผู้รู้ด้วยค่ะ
ขอบพระคุณมากๆค่ะ ( tag อาจจะไม่ค่อยตรงแต่พยายามให้ถึงท่านนักกฎหมายมากที่สุดค่ะ )