“สอุปาทิเสสนิพพาน
” ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“กิเลสปรินิพพาน” (ความดับโดยรอบของกิเลส) หมายถึง
“นิพพานที่กองต่างๆ (ขันธ์ 5) ของนามรูปยังคงมีอยู่”
นั่นคือ “สอุปาทิเสสนิพพาน”
เป็นภาวะความหลุดพ้นที่ยอมรับกันมาแต่ดั้งเดิมว่า
คนเราอาจเข้าถึงได้ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ คือ
ยังมีขันธ์ 5 อันเป็นองค์ประกอบของชีวิตดำรงอยู่
แสดงให้เห็นว่า
นามรูปตั้งอยู่ได้ในนิพพานเพราะว่า มีตัวตน
นิพพานย่อมเป็นอัตตา
“อนุปาทิเสสนิพพาน” หมายถึง
“นิพพานที่ไม่มีขันธ์ 5 ดำรงอยู่”
นิพพานในลักษณะนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“ขันธปรินิพพาน” ซึ่งหมายถึง
ความดับโดยรอบของขันธ์ 5 ที่ดำรงชีวิต
และถือกันมาแต่เดิมว่าเป็นภาวะความหลุดพ้น
หลังจากผู้บรรลุเสียชีวิตไปแล้ว
แสดงให้เห็นว่านิพพานอาศัยอยู่ที่จิต
เป็นจิตที่ไม่ต้องไปเวียนว่าตายเกิดอีก
ไม่มีภพ ชาติ
ฉนั้นนิพพานเป็นตน เป็นอัตตาอยู่ที่ที่เดียว
ไม่มีไป ไม่มีมาอยู่นิ่งๆๆ
ความนิ่งคืออัตตา
“ภาวะทั้ง 2 นี้ไม่ใช่ลักษณะ 2 อย่างที่แตกต่างกันของนิพพาน
ที่จริงแล้วภาวะทั้ง 2 นี้หมายถึงนิพพานในลักษณะเดียวกัน
แต่ที่เรียกชื่อต่างกันเป็น 2 อย่างก็เพื่อแสดงว่า
เป็นภาวะหลุดพ้นที่บุคคลประสบก่อนตายหรือหลังตายนั่นเอง”
ปุถุชนที่ตายแล้วมีภพชาติ เพราะจิตเวียนว่าตายเกิด
พระอรหันต์ตายแล้ว จิตไม่ต้องเวียนว่าตายเกิด
นิพพานคือความนิ่ง คือความเที่ยง
จิตที่ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดคือจิตนิ่ง จิตเที่บง
จุดต่าง 2 “นิพพาน”
” ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“กิเลสปรินิพพาน” (ความดับโดยรอบของกิเลส) หมายถึง
“นิพพานที่กองต่างๆ (ขันธ์ 5) ของนามรูปยังคงมีอยู่”
นั่นคือ “สอุปาทิเสสนิพพาน”
เป็นภาวะความหลุดพ้นที่ยอมรับกันมาแต่ดั้งเดิมว่า
คนเราอาจเข้าถึงได้ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ คือ
ยังมีขันธ์ 5 อันเป็นองค์ประกอบของชีวิตดำรงอยู่
แสดงให้เห็นว่า
นามรูปตั้งอยู่ได้ในนิพพานเพราะว่า มีตัวตน
นิพพานย่อมเป็นอัตตา
“อนุปาทิเสสนิพพาน” หมายถึง
“นิพพานที่ไม่มีขันธ์ 5 ดำรงอยู่”
นิพพานในลักษณะนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“ขันธปรินิพพาน” ซึ่งหมายถึง
ความดับโดยรอบของขันธ์ 5 ที่ดำรงชีวิต
และถือกันมาแต่เดิมว่าเป็นภาวะความหลุดพ้น
หลังจากผู้บรรลุเสียชีวิตไปแล้ว
แสดงให้เห็นว่านิพพานอาศัยอยู่ที่จิต
เป็นจิตที่ไม่ต้องไปเวียนว่าตายเกิดอีก
ไม่มีภพ ชาติ
ฉนั้นนิพพานเป็นตน เป็นอัตตาอยู่ที่ที่เดียว
ไม่มีไป ไม่มีมาอยู่นิ่งๆๆ
ความนิ่งคืออัตตา
“ภาวะทั้ง 2 นี้ไม่ใช่ลักษณะ 2 อย่างที่แตกต่างกันของนิพพาน
ที่จริงแล้วภาวะทั้ง 2 นี้หมายถึงนิพพานในลักษณะเดียวกัน
แต่ที่เรียกชื่อต่างกันเป็น 2 อย่างก็เพื่อแสดงว่า
เป็นภาวะหลุดพ้นที่บุคคลประสบก่อนตายหรือหลังตายนั่นเอง”
ปุถุชนที่ตายแล้วมีภพชาติ เพราะจิตเวียนว่าตายเกิด
พระอรหันต์ตายแล้ว จิตไม่ต้องเวียนว่าตายเกิด
นิพพานคือความนิ่ง คือความเที่ยง
จิตที่ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดคือจิตนิ่ง จิตเที่บง