ข้าแต่พระองค์เจริญ อย่างไรบุคคล
จึงชื่อว่าเป็นพราหมณ์ อย่างไรชื่อว่าเป็น
ผู้จบเวท อย่างไรชื่อว่าเป็นผู้มีวิชชา ๓
บัณฑิตกล่าวบุคคลเช่นไรชื่อว่าเป็นผู้มี
ความสวัสดี อย่างไรชื่อว่าเป็นพระอรหันต์
อย่างไรชื่อว่ามีคุณครบถ้วนอย่างไรชื่อว่า
เป็นมุนีและบัณฑิตกล่าวบุคคลเช่นไรว่า
เป็นพุทธะ.
[๕๙๗] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสตอบพราหมณ์ด้วย
พระคาถาว่า
ผู้ใดรู้ระลึกชาติก่อนๆ ได้ เห็น
สวรรค์และอบาย บรรลุถึงควานสิ้นชาติ
ผู้นั้นชื่อว่าเป็นมุนีผู้รู้ยิ่งถึงที่สุด (เพราะเป็นผู้มีบาปอันลอยเสีย)
มุนีนั้นย่อมรู้จิตอันบริสุทธิ์อันพ้นแล้วจากราคะ
ทั้งหลายโดยประการทั้งปวง เป็นผู้ละชาติ
และมรณะได้แล้ว ชื่อว่ามีคุณครบถ้วน
แห่งพรหมจรรย์ ชื่อว่าถึงฝั่งแห่งธรรมทั้ง
ปวง บัณฑิตกล่าวบุคคลผู้เช่นนั้นว่าเป็น
พุทธะ.
อีกอย่างหนึ่งโพชฌงค์๗ย่อมเป็นไปเพื่อตรัสรู้
เพราะการตัดกิเลสได้ขาดด้วยมรรคนั้น เพื่อความเป็นพุทธะ(ผู้คงที่) ด้วยผลดังนี้ก็มี.
ด้วยเหตุนั้นแล ในที่นี้ ท่านจึงแสดงไว้ทั้ง
หมดว่าการกระทำนิพพานให้แจ้ง การพิจารณาซึ่งการละกิเลส.
(ซึ่งจิตอันบริสุทธิ์หลุดพ้นแล้วจากกิเลส
ไม่ขุ่นมัว-อภิจิต)เป็นผู้หมดอาสวะอยู่.
ได้ทรงทำลายแล้วซึ่งข่าย คือกิเลสอันเกิดในตน เหมือนนักรบ
ผู้ยิ่งใหญ่ทำลายเกราะฉะนั้น.
จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
ได้ทรงทำลายกิเลสทั้งหมดซึ่งรวบรัดมัดอัตภาพตั้งอยู่ เหมือนทหารผู้ยิ่งใหญ่ทำลาย
เกราะด้วยกำลังสมถะและวิปัสสนา เริ่มตั้งแต่ส่วนเบื้องต้นอย่างนี้คือทรงยินดี
ในภายในด้วยอำนาจวิปัสสนา ทรงเป็นผู้มั่นคงด้วยอำนาจสมถะ (และได้ทรง
ทำลายกิเลส) ที่ได้ชื่อว่า สร้างตัวตน เพราะสร้างให้เกิดภายในตน และเพราะ
ไม่มีกิเลสจึงชื่อว่าทรงละกรรมด้วยการละกิเลสอย่างนี้คือ กรรม ชื่อว่าเป็น
อันถูกปลงลงแล้ว เพราะไม่ทรงทำให้สืบเนื่อง สำหรับผู้ที่ละกิเลสได้แล้ว
ขึ้นชื่อว่า ความกลัวไม่มี ฉะนั้น จึงทรงเป็นผู้ไม่กลัวเลย
ทรงระงับสังขาร๓ แล้ว และพึงทราบว่า
ทรงเปล่งพระอุทานเพื่อทรงให้รู้ความเป็นผู้ไม่
กลัวด้วย ดังนี้.
ว่าด้วยความเป็นพุทธะ
จึงชื่อว่าเป็นพราหมณ์ อย่างไรชื่อว่าเป็น
ผู้จบเวท อย่างไรชื่อว่าเป็นผู้มีวิชชา ๓
บัณฑิตกล่าวบุคคลเช่นไรชื่อว่าเป็นผู้มี
ความสวัสดี อย่างไรชื่อว่าเป็นพระอรหันต์
อย่างไรชื่อว่ามีคุณครบถ้วนอย่างไรชื่อว่า
เป็นมุนีและบัณฑิตกล่าวบุคคลเช่นไรว่า
เป็นพุทธะ.
[๕๙๗] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสตอบพราหมณ์ด้วย
พระคาถาว่า
ผู้ใดรู้ระลึกชาติก่อนๆ ได้ เห็น
สวรรค์และอบาย บรรลุถึงควานสิ้นชาติ
ผู้นั้นชื่อว่าเป็นมุนีผู้รู้ยิ่งถึงที่สุด (เพราะเป็นผู้มีบาปอันลอยเสีย)
มุนีนั้นย่อมรู้จิตอันบริสุทธิ์อันพ้นแล้วจากราคะ
ทั้งหลายโดยประการทั้งปวง เป็นผู้ละชาติ
และมรณะได้แล้ว ชื่อว่ามีคุณครบถ้วน
แห่งพรหมจรรย์ ชื่อว่าถึงฝั่งแห่งธรรมทั้ง
ปวง บัณฑิตกล่าวบุคคลผู้เช่นนั้นว่าเป็น
พุทธะ.
อีกอย่างหนึ่งโพชฌงค์๗ย่อมเป็นไปเพื่อตรัสรู้
เพราะการตัดกิเลสได้ขาดด้วยมรรคนั้น เพื่อความเป็นพุทธะ(ผู้คงที่) ด้วยผลดังนี้ก็มี.
ด้วยเหตุนั้นแล ในที่นี้ ท่านจึงแสดงไว้ทั้ง
หมดว่าการกระทำนิพพานให้แจ้ง การพิจารณาซึ่งการละกิเลส.
(ซึ่งจิตอันบริสุทธิ์หลุดพ้นแล้วจากกิเลส
ไม่ขุ่นมัว-อภิจิต)เป็นผู้หมดอาสวะอยู่.
ได้ทรงทำลายแล้วซึ่งข่าย คือกิเลสอันเกิดในตน เหมือนนักรบ
ผู้ยิ่งใหญ่ทำลายเกราะฉะนั้น.
จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
ได้ทรงทำลายกิเลสทั้งหมดซึ่งรวบรัดมัดอัตภาพตั้งอยู่ เหมือนทหารผู้ยิ่งใหญ่ทำลาย
เกราะด้วยกำลังสมถะและวิปัสสนา เริ่มตั้งแต่ส่วนเบื้องต้นอย่างนี้คือทรงยินดี
ในภายในด้วยอำนาจวิปัสสนา ทรงเป็นผู้มั่นคงด้วยอำนาจสมถะ (และได้ทรง
ทำลายกิเลส) ที่ได้ชื่อว่า สร้างตัวตน เพราะสร้างให้เกิดภายในตน และเพราะ
ไม่มีกิเลสจึงชื่อว่าทรงละกรรมด้วยการละกิเลสอย่างนี้คือ กรรม ชื่อว่าเป็น
อันถูกปลงลงแล้ว เพราะไม่ทรงทำให้สืบเนื่อง สำหรับผู้ที่ละกิเลสได้แล้ว
ขึ้นชื่อว่า ความกลัวไม่มี ฉะนั้น จึงทรงเป็นผู้ไม่กลัวเลย
ทรงระงับสังขาร๓ แล้ว และพึงทราบว่า
ทรงเปล่งพระอุทานเพื่อทรงให้รู้ความเป็นผู้ไม่
กลัวด้วย ดังนี้.