หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
อยาก แต่ไม่อยาก ความขัดกันระหว่างตัณหา มานะ ทิฏฐิ กับอริยสัจธรรม
กระทู้คำถาม
ศาสนาพุทธ
ในยามสบายเราก็ขอพลัดวัน หรือลืมมันไป
ในยามเข้าตาจน ก็จำยอม คับแค้น
ความเกิดเป็นทุกข์ แต่เกิดแล้วก็ไม่อยาก แก่ เจ็บ ตาย พลัดพราก
อยากเกิดแต่ไม่อยากตาย
อยากได้แต่ไม่อยากเสีย
อยากพ้นแต่ไม่อยากวาง
อยากสุขแต่ไม่อยากทุกข์
อยากได้แต่ไม่อยากทำ
อยากรู้แต่ไม่อยากสิกขา...
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
ศึกษาธรรมวินัยไว้ก่อน จะได้ไม่เป็นโรคซึมเศร้า
ปฏิจจสมุปบาทสายเกิด เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี เพราะผัสส
สมาชิกหมายเลข 975147
ต้องรู้จัก "ความทุกข์" ให้ถูกต้องก่อน
ความทุกข์ตวามหลักอริยสัจ ๔ นี้ หมายถึงความทุกข์ของจิตใจที่กำลังเกิดอยู่ในปัจจุบัน อันได้แก่ ความเศร้าโศก (หรือเสียใจ) ความคับแค้นใจ (อีดอัดใจ) ความแห้งเหี่ยวใจ (ความตรอมใจ) ความไม่สบายใจ (ความรำคาญใจ)
เตชปัญโญ ภิกขุ
อริยสัจ ๔
ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ทุกข์ = ความไม่สบายกาย สบายใจ แห้งเหี่ยวใจ คับแค้นใจ คร่ำครวญ พิไรรำพัน เศร้าโศก พลัดพรากจาก อารมณ์อันเป็นที่รัก อยู่กับอารมณ์ อันไม่เป็นที่รัก ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้น ฯ
สมาชิกหมายเลข 3662313
เมื่อจิตไม่มีความทุกข์เสียแล้ว แม้ร่างกายจะแก่ หรือเจ็บ หรือกำลังจะตาย มันก็ไม่มีความสำคัญเสียแล้ว
ความทุกข์ (ในอริยสัจ ๔) ที่แท้จริงที่พระพุทธเจ้าสอนนั้นคือ ความทุกข์ของจิตใจ ที่เกิดขึ้นมาจากการจินตนาการ (ปรุงแต่งขึ้นมาเอง) ของจิตที่โง่เขลา (คือมีอวิชชา-ความรู้ว่ามีตัวเราครอบงำอยู่) ดังที่พระพุทธเ
เตชปัญโญ ภิกขุ
สุขของเรา ทุกข์ของเรา เฉยๆของเราก็เป็นตัณหา //เราสุข เราทุกข์ เราเฉยๆ ก็เป็นทิฏฐิ
--อุปาทานก็จะมีหลักธรรมอยู่ 2 ประการ หลักๆก็คือ ตัณหา กับ ทิฏฐิ นั่นเองออกทำงานแล้วตอนนี้นะครับ --ก็อาการที่ไปเอา หรือ ไปยึดว่าเป็นของเรา นี่เองเป็นอาการของตัณหา นะค
satanmipop
การเกิดในชาติแรกในทางพุทธศาสนา
ในทางพุทธศาสนา การอธิบายการเกิดในชาติแรกมีความเกี่ยวข้องกับหลัก **ปฏิจจสมุปบาท** (อิทัปปัจจยตา) ซึ่งเป็นหลักธรรมที่อธิบายการเกิดขึ้นของทุกสิ่งตามเหตุและปัจจัย โดยกล่าวว่า 
สมาชิกหมายเลข 7280511
อนัตตาควรอยู่ในส่วนไหน?
พระธรรมที่ทรงแส่งแล้ว ทรงจัดไว้เป็นหมวดหมู่ เหมือนดอกไม้ที่ร้อยเรียงให้เป็นพวงมาลัยในแต่ละเรื่อง เรื่องทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย พลัดพราก ฯ เครื่องสาเหตุแห่งทุก
สมาชิกหมายเลข 7872100
หลายคนตั้งคำถามว่า จิต คือ เรา หรือไม่??
หลายคนตั้งคำถามว่า จิต คือ เรา หรือไม่?? พระอาจารย์สุชาติ สอนเหมือนพระพุทธเจ้าเป๊ะ ว่าจิต คือ เรา พระอรหันต์ไม่สอนธรรมคลาดเคลื่อนจากพระพุทธเจ้า ใจ (จิต) ไม่ดับ ร่างกายจะดับก็ดับไป แต่ใจยังเป็นอกาลิโ
สมาชิกหมายเลข 2748147
มหาตัณหาสังขยสูตร ๒ วิญญาณเกิดเพราะอาศัยปัจจัย, อ.สุภีร์ ทุมทอง-บ้านพุทธธรรมสวนหลวง-๒๐
มหาตัณหาสังขยสูตร ๒ วิญญาณเกิดเพราะอาศัยปัจจัย, อ.สุภีร์ ทุมทอง-บ้านพุทธธรรมสวนหลวง-๒๐ https://www.youtube.com/watch?v=Mv1P1YKM5eE ------ --คราวนี้ก็มาเรียนพระสูตรต่อคราวที่แล้วนะค
satanmipop
บทกลอน: ข้ามห้วงน้ำ
วันหนึ่งเรา ต้องทิ้ง ทุกสิ่งไป สู่ที่ใหม่ ที่ไหน มิรู้ได้ จะสุขทุกข์ ดีร้าย ประการใด จะพบไหม คนรู้จัก รักเฉยชัง ต้องทิ้งชื่อ ทิ้งทรัพย์ ทิ้งยศศักดิ์ ทิ้งคนรัก เฉยชัง ไว้
สมาชิกหมายเลข 7338737
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
อยาก แต่ไม่อยาก ความขัดกันระหว่างตัณหา มานะ ทิฏฐิ กับอริยสัจธรรม
ในยามเข้าตาจน ก็จำยอม คับแค้น
ความเกิดเป็นทุกข์ แต่เกิดแล้วก็ไม่อยาก แก่ เจ็บ ตาย พลัดพราก
อยากเกิดแต่ไม่อยากตาย
อยากได้แต่ไม่อยากเสีย
อยากพ้นแต่ไม่อยากวาง
อยากสุขแต่ไม่อยากทุกข์
อยากได้แต่ไม่อยากทำ
อยากรู้แต่ไม่อยากสิกขา...