จริตไม่ได้หมายถึง ผู้ปฎิบัติชอบอันไหนก็ทำอันนั้น
จริตแท้จริงแล้วหมายถึง อุปนิสัยที่เหมาะที่จะทำกรรมฐานกองไหน หรือกรรมฐานกองไหนที่อนุกูลกับบุคคลนั้น
เมื่อรู้กรรมฐานที่เหมาะสมแล้ว จากนั้นค่อยหาว่าวิธีที่ถูกควร จะทำอย่างไร?
ที่มาภาพ: หนังสือ พุทธธรรมฉบับขยายความ ป.ประยุตโต หน้า 855
อธิบายความ ในกรรมฐานที่พระพุทธองค์ทรงตรัสสอนนั้นมีลักษณะเฉพาะของแต่ละกอง ท่านเจ้าคุณประยุทธ์ ได้บรรยายตามตารางนี้ สรุปความได้ว่า
1.กสิณ 10
วรรณกสิณหรือกสิณสี เหมาะกับจริต โทสะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1-4
กสิณอื่นๆ เหมาะกับจริต ทุกๆจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1-4
2.อสุภะ 10 เหมาะกับจริต ราคะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1
3.อนุสติ 10
อนุสติ 6 ข้อแรก เหมาะกับจริต สัทธาจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
อุปสมานุสติเหมาะกับจริต พุทธจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
มรณสติเหมาะกับจริต พุทธจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
กายคตาสติเหมาะกับจริต ราคะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1
อานาปานสติ เหมาะกับจริต โมหะจริตและวิตกจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1-4
4.อัปปมัญญา 4
เมตตา,กรุณา,มุฑิตา เหมาะกับจริต โทสะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1-3
อุเบกขา เหมาะกับจริต โทสะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 4
5.อาหาเรปฎิกูลสัญญา เหมาะกับจริต พุทธจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
6.จตุธาตุววัฏฐาน เหมาะกับจริต พุทธจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
7. อรูปฌาน 4 เหมาะกับจริต ทุกๆจริต ขั้นความสำเร็จ เทียบเท่าฌาน4 โดยต่อยอดและละรูปนิมิต จากฌาน 4 ใน กสิณ 10 กองใดกองนึงอันเป็นไปตามลำดับ อรูปฌาน 1-4
ที่มาคำบรรยาย: aero1.bloggang.com
หนทางสู่การปฏิบัติ
จริตไม่ได้หมายถึง ผู้ปฎิบัติชอบกรรมฐานไหนก็ทำอันนั้น !!!!
จริตแท้จริงแล้วหมายถึง อุปนิสัยที่เหมาะที่จะทำกรรมฐานกองไหน หรือกรรมฐานกองไหนที่อนุกูลกับบุคคลนั้น
เมื่อรู้กรรมฐานที่เหมาะสมแล้ว จากนั้นค่อยหาว่าวิธีที่ถูกควร จะทำอย่างไร?
ที่มาภาพ: หนังสือ พุทธธรรมฉบับขยายความ ป.ประยุตโต หน้า 855
อธิบายความ ในกรรมฐานที่พระพุทธองค์ทรงตรัสสอนนั้นมีลักษณะเฉพาะของแต่ละกอง ท่านเจ้าคุณประยุทธ์ ได้บรรยายตามตารางนี้ สรุปความได้ว่า
1.กสิณ 10
วรรณกสิณหรือกสิณสี เหมาะกับจริต โทสะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1-4
กสิณอื่นๆ เหมาะกับจริต ทุกๆจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1-4
2.อสุภะ 10 เหมาะกับจริต ราคะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1
3.อนุสติ 10
อนุสติ 6 ข้อแรก เหมาะกับจริต สัทธาจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
อุปสมานุสติเหมาะกับจริต พุทธจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
มรณสติเหมาะกับจริต พุทธจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
กายคตาสติเหมาะกับจริต ราคะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1
อานาปานสติ เหมาะกับจริต โมหะจริตและวิตกจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1-4
4.อัปปมัญญา 4
เมตตา,กรุณา,มุฑิตา เหมาะกับจริต โทสะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 1-3
อุเบกขา เหมาะกับจริต โทสะจริต ขั้นความสำเร็จ ฌาน 4
5.อาหาเรปฎิกูลสัญญา เหมาะกับจริต พุทธจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
6.จตุธาตุววัฏฐาน เหมาะกับจริต พุทธจริต ขั้นความสำเร็จ อุปจารสมาธิ(สมาธิขั้นกลาง)
7. อรูปฌาน 4 เหมาะกับจริต ทุกๆจริต ขั้นความสำเร็จ เทียบเท่าฌาน4 โดยต่อยอดและละรูปนิมิต จากฌาน 4 ใน กสิณ 10 กองใดกองนึงอันเป็นไปตามลำดับ อรูปฌาน 1-4
ที่มาคำบรรยาย: aero1.bloggang.com
หนทางสู่การปฏิบัติ