หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
รบกวนสอบถาม สติสัมโภชฌงค์ กับ สติปัฏฐานสี่ คืออันเดียวกันหรือเปล่าครับ
กระทู้สนทนา
มหาสติปัฏฐาน 4
พระไตรปิฎก
ศาสนาพุทธ
ผมจะต้องนำเสนอ ในเรื่อง โพชฌงค์ 7
ในส่วนของ สติ สัมโพชฌงค์ คือความระลึก รู้เท่าทัน เวทนา เท่าทันจิต เท่าทันธรรม ทั้งหมดคือ สติปัฎฐาน สี่ หรือเปล่าครับ การเจริญสติ ระลึกรู้ คือ อาณาปณสติ หรือเปล่าครับ
ขอบพระคุณอย่างสูง
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
มีสติระลึกรู้ลมหายใจเข้าออก
มีสติระลึกรู้ลมหายใจเข้าออก มีจิตนึกตึกตรองรู้ว่าลมเข้า ลมออก ลมสั้น ลมยาว ลมหยาบ ลมละเอียด เรียกว่า วิตก มีสติใคร่ครวญรู้ว่าลมเข้า ลมออกแล้ว เรียกว่า วิจารณ์ เมื่อมีสติรู้ลมหายใจ เกิดวิตก วิจารต่อเนื
สมาชิกหมายเลข 2748147
วิธีปฏิบัติธรรมเบื้องต้นง่ายๆ คือทุกข์ต้องกำหนดรู้ สมุทัยต้องละ แต่การปฏิบัติธรรมเป็นเรื่องระเอียดลาดลึกไปตามลำดับ
ทุกข์ต้องกำหนดรู้ เป็นอย่างไร? ตัวทุกข์ก็คือ ขันธ์ 5 นั้นเอง ได้แก่ กาย เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ สรุปย่อคือ ฐานทั้ง 4 (กาย เวทนา จิต ธรรม) ของสติปัฏฐาน 4 นั้นเอง &nb
P_vicha
ความสัมพันธ์ ของโพธิปักขิยธรรม 37 ประการ อย่างย่อ
พอดีผมเป็นนักปฏิบัตธรรมก่อนที่จะศึกษาพระไตรปิฏก จึงขอยก เอาการเริ่มปฏิบัติธรรมขึ้นก่อน ดังนี้ -------------------------------------------- สติปัฏฐาน4 + อิทธิบาท 4 + สัมมัปปธาน 4 + พละ 5 -> อินทรีย
P_vicha
สติ นั้นสามารถฝึกให้เจริญขึ้นได้ไปตามลำดับ และการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 (กาย เวทนา จิต ธรรม) สติก็ต้องพัฒนาเจริญไปตามลำดับ
สติ นั้นสามารถฝึกให้เจริญขึ้นได้ไปตามลำดับ และการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 (กาย เวทนา จิต ธรรม) สติก็ต้องพัฒนาเจริญไปตามลำดับ เมื่อมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนว่า สติไม่สามารถ ฝึก ปฏิบัติเจริญขึ้นไ
P_vicha
รูปฌาน อรูปฌาน เป็นอย่างไร สติปัฐฐานกำหนดอย่างนั้น
ขันธ์5 รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน เกิดขึ้นมาแล้วดับไปเห็นได้ด้วยการกำหนดรู้ สติปัญฐาน สติปัฐฐานคือการกำหนดใน กาย เวทนา จิต ธรรม หยาบไปละเอียด คือ รูปฌาน อรูปฌาน เกิดที่ไหนขึ้นมา(อารมณ์) มีสติ
สมาชิกหมายเลข 3237158
อินทรีย์พละ
เมื่อเจริญสติปัฐฐาน4 ดูกาย เวทนา ความคิด สภาพจิต จะเห็นกระแสญาน พุ่งออกไปทางแขนขา อันเป็นเห็นการทำงานของกระแสประสาท การเห็นอย่างนี้ทำให้ฌาน สมาธิ มีกำลังมากขึ้น เมื่อสติปัฐฐานต่อเนื่อง จะเห็นรูปนามดัง
สมาชิกหมายเลข 3237158
ฌานดังน้ำอมฤต
จิตตั้งมั่นอยู่ภายในเป็นรูปฌาน เป็นกำลังจิตให้ตัววิปัสนา เป็นดังน้ำอมฤตคอยหล่อเลี้ยงจิต การเกิดดับของขันธ์ จะเกิดดับในความว่างของจิต ธรรมารมณ์ อันเป็นมโนวิญญานผุดขึ้นมาขณะมีสติอยู่กับฐานกาย(ยืน เดิน น
สมาชิกหมายเลข 3237158
วิเคราะห์ธรรมศาสนาพุทธ ที่นำไปสุ่อริยบุคคล บุคคลผู้ประเสริฐ, ผู้ไกลจากข้าศึก, ผู้หักกำล้อสังสารวัฏ
ใจคน ใจใคร ก็ใจเขาจะให้เหมือน ใจเรา กระไรได้ต่างคน ต่างคิด ต่างจิตใจจะยึดมั่น ทำไม กับใจคนธรรมะ รักษา (ไอรดา นนทะศรี)ขออนุญาตอ้างอิงจาก nkgen.com
สมาชิกหมายเลข 5742924
สภาวะเป็นกลางในธรรม ที่พักจิตตัวจริง
ทำให้ถึงสภาวะเป็นกลางในธรรม ในแต่ละกองขันธ์5 รู้ขันธ์5อะไรแล้วหาย รู้แล้วหาย แล้วกลับมาตั้งมั่นที่จิต อันเป็นสภาวะมีวิหารธรรม สติ สมาธิ ปัญญาระดับสัมโพชฌงค์ ปรากฏตรงนี้ เป็นสภาวะจิตตั้งมั่นตัวจร
สมาชิกหมายเลข 3237158
เจริญอาปานสติ เป็นเหตุให้สติปัฏฐาน ๔ โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติบริบูรณ์,
ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมอันเอกนั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อ บุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมทำธรรมทั้ง ๔ ให้บริบูรณ์ ครั้นธรรมทั้ง ๔ นั้น อันบุคคลเจริญล้วน ทำให้มากแล้ว ย่อมทำธรรมทั้ง ๗ ให้บริบูรณ์ ครั้นธรรมทั้ง ๗
สมาชิกหมายเลข 7047373
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
มหาสติปัฏฐาน 4
พระไตรปิฎก
ศาสนาพุทธ
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
รบกวนสอบถาม สติสัมโภชฌงค์ กับ สติปัฏฐานสี่ คืออันเดียวกันหรือเปล่าครับ
ในส่วนของ สติ สัมโพชฌงค์ คือความระลึก รู้เท่าทัน เวทนา เท่าทันจิต เท่าทันธรรม ทั้งหมดคือ สติปัฎฐาน สี่ หรือเปล่าครับ การเจริญสติ ระลึกรู้ คือ อาณาปณสติ หรือเปล่าครับ
ขอบพระคุณอย่างสูง