ทุกข์ต้องกำหนดรู้ เป็นอย่างไร?
ตัวทุกข์ก็คือ ขันธ์ 5 นั้นเอง ได้แก่ กาย เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ สรุปย่อคือ ฐานทั้ง 4 (กาย เวทนา จิต ธรรม) ของสติปัฏฐาน 4 นั้นเอง
กำหนดรู้ก็คือ มีสติเป็นปัจจุบัน ตามความเป็นจริงในปัจจุบันนั้นๆ
ทุกข์ต้องกำหนดรู้ จึงเป็นอย่างนั
มีสติเป็นปัจจุบันกับ กาย เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ สรุปย่อคือ สติปัฏฐาน 4 (กาย เวทนา จิต ธรรม) ที่ปรากฏหรือเกิดขึ้นตามความเป็นจริงในปัจจุบันนั้นๆ ซึ่งต้องอาศัย อิทธิบาท 4 ( ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) ในาการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4
สมุทัยต้องละ เป็นอย่างไร?
สมุทัยคือ เหตุแห่งทุกข์ ได้แก่ตัณหาและอุปทาน ซึ่งมีเหตุจาก อวิชชา หรือกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ
ต้องละ คือ มีสัมมัปทาน 4. ในการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 คือ
1.ระงับวาง(ดับ)อกุศล(กิเลส)ไว้ได้ ก็ด้วยการกำหนดรู้ในสติปัฏฐาน 4 ที่ต้องมีศีล
2.รักษากุศล(ความศรัทธา ความเพียร สติ สมาธิ ปัญญา หรือ พละ 5) ไว้ได้
3.ทำให้อกุศล(กิเลส) ที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้นได้(ก็ด้วย อิทธิบาท 4 และพละ 5 ที่รักษาไว้)
4.ทำให้กุศล(พละ 5)ที่มีอยู่เจริญยิ่งขึ้น จนเกิดเป็น อินทรีย์ 5 (ศรัทธาอินทรีย์ วิริยะอินทรีย์ สติอินทรีย์ สมาธิอินทรีย์ ปัญญาอินทรีย์)ที่ตั้งมั่น
เมื่อสติปัฏฐาน 4 เจริญสมบูรณ์ ด้วยประกอบด้วยธรรมเหล่านี้ อิทธิบาท 4 สัมมัปทาน 4 พละ 5 อินทรีย์ 5 ก็ย่อมทำให้ โพชฌงค์ 7 เจริญสมบูรณ์ ดังนี้.
1.สติสัมโพชฌงค์
2.ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์
3.วิริยะสัมโพชฌงค์
4.ปีติสัมโพชฌงค์
5.ปัสสธิสัมโพชฌงค์
6.สมาธิสัมโพชฌงค์
7.อุเบกขาสัมโพชฌงค์
ก็ด้วยการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 อยู่เนืองๆ ด้วยมีศีลอันเป็นฐาน มีสุตมยปัญญา จินตมยปัญญา และภาวนามนยปัญญา ย่อมทำให้ โพชฌงค์ 7 เจริญสมบูรณ์
-------------
จาก..
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%8C%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C_7
1.สติ (สติสัมโพชฌงค์) ความระลึกได้ สำนึกพร้อมอยู่ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับเรื่อง
2.ธัมมวิจยะ (ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์) ความเฟ้นธรรม ความสอดส่องสืบค้นธรรม
3.วิริยะ (วิริยสัมโพชฌงค์) ความเพียร
4.ปีติ (ปีติสัมโพชฌงค์) ความอิ่มใจ
5.ปัสสัทธิ (ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์) ความสงบกายใจ
6.สมาธิ (สมาธิสัมโพชฌงค์) ความมีใจตั้งมั่น จิตแน่วในอารมณ์
7. อุเบกขา (อุเบกขาสัมโพชฌงค์) ความมีใจเป็นกลาง เพราะเห็นตามเป็นจริง
--------------
เมื่อโพชฌงค์ 7 เจริญสมบูรณ์ย่อมทำให้ มรรคมีองค์ 8 เจริญสมบูรณ์ ดังนี้
---------------------------
จาก
https://www.tewfree.com/%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%848/
1.สัมมาทิฏฐิ(ความเห็นที่ถูกต้อง) หมายถึง ความรู้ในอริยสัจ 4
2.สัมมาสังกัปปะ(ความคิดที่ถูกต้อง) หมายถึง ความคิดในการออกจากกาม ความไม่พยาบาท และการไม่เบียดเบียน
3.สัมมาวาจา(วาจาที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากการพูดเท็จ หยาบคาย ส่อเสียด และเพ้อเจ้อ
4.สัมมากัมมันตะ(การปฏิบัติที่ถูกต้อง) หมายถึง เจตนาละเว้นจากการฆ่า โจรกรรม และการประพฤติผิดในกาม
5.สัมมาอาชีวะ(การหาเลี้ยงชีพที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากมิจฉาชีพ การละเว้นจากอาชีพฆ่าสัตว์ อาชีพที่เบียดเบียนผู้อื่น
6.สัมมาวายามะ(ความเพียรที่ถูกต้อง) หมายถึง สัมมัปปธาน 4 คือ ความพยายามป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิด ละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ทำกุศลที่ยังไม่เกิด และดำรงรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว
7.สัมมาสติ(การมีสติที่ถูกต้อง) หมายถึง สติปัฏฐาน 4
8.สัมมาสมาธิ(การมีสมาธิที่ถูกต้อง) หมายถึง ฌาน 4 (แก้เป็นกำลังสมาธิระดับ 1-4)
-----------------------------
เมื่อ มรรคมีองค์ 8 เจริญสมบูรณ์ด้วยปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 อยู่เนื่องๆ เป็นปัจจุบัน อย่างสมบูรณ์สมดุลย์ มีความระเอียดออ่นปรานีดดีแล้วจึงเกิด มัคคสมังคี ขึ้นบรรลุมรรคผลนิพพานไปตามลำดับตามกำลังของพระอริยบุคคลนั้นๆ
วิธีปฏิบัติธรรมเบื้องต้นง่ายๆ คือทุกข์ต้องกำหนดรู้ สมุทัยต้องละ แต่การปฏิบัติธรรมเป็นเรื่องระเอียดลาดลึกไปตามลำดับ
ตัวทุกข์ก็คือ ขันธ์ 5 นั้นเอง ได้แก่ กาย เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ สรุปย่อคือ ฐานทั้ง 4 (กาย เวทนา จิต ธรรม) ของสติปัฏฐาน 4 นั้นเอง
กำหนดรู้ก็คือ มีสติเป็นปัจจุบัน ตามความเป็นจริงในปัจจุบันนั้นๆ
ทุกข์ต้องกำหนดรู้ จึงเป็นอย่างนั
มีสติเป็นปัจจุบันกับ กาย เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ สรุปย่อคือ สติปัฏฐาน 4 (กาย เวทนา จิต ธรรม) ที่ปรากฏหรือเกิดขึ้นตามความเป็นจริงในปัจจุบันนั้นๆ ซึ่งต้องอาศัย อิทธิบาท 4 ( ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) ในาการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4
สมุทัยต้องละ เป็นอย่างไร?
สมุทัยคือ เหตุแห่งทุกข์ ได้แก่ตัณหาและอุปทาน ซึ่งมีเหตุจาก อวิชชา หรือกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ
ต้องละ คือ มีสัมมัปทาน 4. ในการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 คือ
1.ระงับวาง(ดับ)อกุศล(กิเลส)ไว้ได้ ก็ด้วยการกำหนดรู้ในสติปัฏฐาน 4 ที่ต้องมีศีล
2.รักษากุศล(ความศรัทธา ความเพียร สติ สมาธิ ปัญญา หรือ พละ 5) ไว้ได้
3.ทำให้อกุศล(กิเลส) ที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้นได้(ก็ด้วย อิทธิบาท 4 และพละ 5 ที่รักษาไว้)
4.ทำให้กุศล(พละ 5)ที่มีอยู่เจริญยิ่งขึ้น จนเกิดเป็น อินทรีย์ 5 (ศรัทธาอินทรีย์ วิริยะอินทรีย์ สติอินทรีย์ สมาธิอินทรีย์ ปัญญาอินทรีย์)ที่ตั้งมั่น
เมื่อสติปัฏฐาน 4 เจริญสมบูรณ์ ด้วยประกอบด้วยธรรมเหล่านี้ อิทธิบาท 4 สัมมัปทาน 4 พละ 5 อินทรีย์ 5 ก็ย่อมทำให้ โพชฌงค์ 7 เจริญสมบูรณ์ ดังนี้.
1.สติสัมโพชฌงค์
2.ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์
3.วิริยะสัมโพชฌงค์
4.ปีติสัมโพชฌงค์
5.ปัสสธิสัมโพชฌงค์
6.สมาธิสัมโพชฌงค์
7.อุเบกขาสัมโพชฌงค์
ก็ด้วยการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 อยู่เนืองๆ ด้วยมีศีลอันเป็นฐาน มีสุตมยปัญญา จินตมยปัญญา และภาวนามนยปัญญา ย่อมทำให้ โพชฌงค์ 7 เจริญสมบูรณ์
-------------
จาก.. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%8C%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C_7
1.สติ (สติสัมโพชฌงค์) ความระลึกได้ สำนึกพร้อมอยู่ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับเรื่อง
2.ธัมมวิจยะ (ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์) ความเฟ้นธรรม ความสอดส่องสืบค้นธรรม
3.วิริยะ (วิริยสัมโพชฌงค์) ความเพียร
4.ปีติ (ปีติสัมโพชฌงค์) ความอิ่มใจ
5.ปัสสัทธิ (ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์) ความสงบกายใจ
6.สมาธิ (สมาธิสัมโพชฌงค์) ความมีใจตั้งมั่น จิตแน่วในอารมณ์
7. อุเบกขา (อุเบกขาสัมโพชฌงค์) ความมีใจเป็นกลาง เพราะเห็นตามเป็นจริง
--------------
เมื่อโพชฌงค์ 7 เจริญสมบูรณ์ย่อมทำให้ มรรคมีองค์ 8 เจริญสมบูรณ์ ดังนี้
---------------------------
จาก https://www.tewfree.com/%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%848/
1.สัมมาทิฏฐิ(ความเห็นที่ถูกต้อง) หมายถึง ความรู้ในอริยสัจ 4
2.สัมมาสังกัปปะ(ความคิดที่ถูกต้อง) หมายถึง ความคิดในการออกจากกาม ความไม่พยาบาท และการไม่เบียดเบียน
3.สัมมาวาจา(วาจาที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากการพูดเท็จ หยาบคาย ส่อเสียด และเพ้อเจ้อ
4.สัมมากัมมันตะ(การปฏิบัติที่ถูกต้อง) หมายถึง เจตนาละเว้นจากการฆ่า โจรกรรม และการประพฤติผิดในกาม
5.สัมมาอาชีวะ(การหาเลี้ยงชีพที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากมิจฉาชีพ การละเว้นจากอาชีพฆ่าสัตว์ อาชีพที่เบียดเบียนผู้อื่น
6.สัมมาวายามะ(ความเพียรที่ถูกต้อง) หมายถึง สัมมัปปธาน 4 คือ ความพยายามป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิด ละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ทำกุศลที่ยังไม่เกิด และดำรงรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว
7.สัมมาสติ(การมีสติที่ถูกต้อง) หมายถึง สติปัฏฐาน 4
8.สัมมาสมาธิ(การมีสมาธิที่ถูกต้อง) หมายถึง ฌาน 4 (แก้เป็นกำลังสมาธิระดับ 1-4)
-----------------------------
เมื่อ มรรคมีองค์ 8 เจริญสมบูรณ์ด้วยปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 อยู่เนื่องๆ เป็นปัจจุบัน อย่างสมบูรณ์สมดุลย์ มีความระเอียดออ่นปรานีดดีแล้วจึงเกิด มัคคสมังคี ขึ้นบรรลุมรรคผลนิพพานไปตามลำดับตามกำลังของพระอริยบุคคลนั้นๆ