อ่านความเห็นเพื่อนพี่น้องชาวราชดำเนินหลายต่อหลายคน
บอกต่อๆกันมาว่าประชาธิปไตยนะ เราเลือกเขาเข้าไปนะ
พอเลือกเขาเข้าไปแล้วถ้าไม่พอใจเขาอีก 4 ปีข้างหน้าก็ไม่ต้องเลือกเขานะ
ช่วงที่ยังอยู่ในวาระของเขาจะไปขับไล่โค่นล้มเขาบ่ได้
ห๊ะ!!!!!!!!!!!
ผมแทบอุทานเป็นภาษาซูดาน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ประเทศที่มีการรัฐประหารมากที่สุดในโลก
และคงอีกนานกว่าประเทศไทยจะตามทัน ^^
เฮ้ย ไหนว่าประชาธิปไตยไง ระบอบแห่งเสรีที่ประชาชนมีอำนาจมากที่สุดไม่ใช่เหรอ
ถ้าประชาชนเดือดร้อนจากการบริหารงานที่ผิดพลาดหรือการโกงกินระดับตำนาน
ประชาชนก็ต้องรออีก 4 ปี หรือจนกว่ารัฐบาลจะหมดวาระ จากนั้นก็ลงโทษพรรคนั้น
ด้วยการไม่เลือกพรรคนั้นซะเลย โห ลงโทษได้โหดร้ายจังเลยเนอะ เฮ้ออออออออ
อำนาจของประชาชนหมดสิ้นทันทีเมื่อการนับคะแนนการเลือกตั้งจบสิ้น
จากนั้นประชาชนก็ต้องเงยหน้ามองการบริหารของรัฐบาลอย่างเดียว
ห้ามหือ ห้ามอือ ห้ามไอ ห้ามเยี่ยม ห้ามประกัน ต้องรอครบวาระเท่านั้น
เฮ้ย!!!!!!!!!แล้วแบบนั้นมันจะต่างอะไรกับสมัยนี้
พูดได้แต่ทำอะไรไม่ได้เลย ต้องรอ รอ รอ
เพื่อลงโทษด้วยการไม่เลือกพรรคนั้น (แหม โทษช่างคิขุจุงเบย)
แบบนี้มันคือ"
ผดก.วาระ 4 ปี"ครับผม
ในรัฐธรรมนูญทุกฉบับอนุญาตให้มีการชุมนุมทางการเมือง
รายละเอียดไปหาอ่านเอง คริ คริ
ในรัฐธรรมนูญกำหนดว่าการเข้าชื่อเพื่อถอดถอนรัฐมนตรี สส.
ข้าราชการการเมืองทุกตำแหน่ง ออกจากตำแหน่งได้
เมื่อมีหนทางแบบนี้ กฏหมายกำหนดไว้แบบนี้
ผม คุณ เรา เขา ตะเอง!!! ล้วนอยู่ใต้กฏหมายฉบับเดียวกัน
ทำไมผมต้องรอถึงรัฐบาลครบวาระละครับ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง
1. ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่อาจถูกถอดถอนได้
ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ประธานศาลปกครองสูงสุด หรืออัยการสูงสุด
1) มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ
2) ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่
3) ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
4) สอ่ว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม
5) ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย
6) ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง
วุฒิสภามีอำนาจถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้ (มาตรา 270 วรรคหนึ่ง)
2. ผู้มีสิทธิเสนอเรื่อง
1) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 271 วรรคหนึ่ง)
2) สมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา
มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภาถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจากตำแหน่งได้
(มาตรา 271 วรรคสอง)
3) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 20,000 คน (รัฐธรรมนูญ มาตรา 164)
.
.
.
ระบอบที่ประชาชนไม่สามารถทำอะไรได้เลย
เขาไม่เรียกว่าระบอบประชาธิปไตยหรอกครับ
ขอบคุณ เนส สักจึกส์ อืมมมมม
ปชต. หรือ...ผดก.วาระ 4 ปี//มู่ยู่ ผู้ชอบทุกพรรค รักทุกคน ไม่พ้นกาทุกเบอร์
บอกต่อๆกันมาว่าประชาธิปไตยนะ เราเลือกเขาเข้าไปนะ
พอเลือกเขาเข้าไปแล้วถ้าไม่พอใจเขาอีก 4 ปีข้างหน้าก็ไม่ต้องเลือกเขานะ
ช่วงที่ยังอยู่ในวาระของเขาจะไปขับไล่โค่นล้มเขาบ่ได้
ห๊ะ!!!!!!!!!!!
ผมแทบอุทานเป็นภาษาซูดาน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เฮ้ย ไหนว่าประชาธิปไตยไง ระบอบแห่งเสรีที่ประชาชนมีอำนาจมากที่สุดไม่ใช่เหรอ
ถ้าประชาชนเดือดร้อนจากการบริหารงานที่ผิดพลาดหรือการโกงกินระดับตำนาน
ประชาชนก็ต้องรออีก 4 ปี หรือจนกว่ารัฐบาลจะหมดวาระ จากนั้นก็ลงโทษพรรคนั้น
ด้วยการไม่เลือกพรรคนั้นซะเลย โห ลงโทษได้โหดร้ายจังเลยเนอะ เฮ้ออออออออ
อำนาจของประชาชนหมดสิ้นทันทีเมื่อการนับคะแนนการเลือกตั้งจบสิ้น
จากนั้นประชาชนก็ต้องเงยหน้ามองการบริหารของรัฐบาลอย่างเดียว
ห้ามหือ ห้ามอือ ห้ามไอ ห้ามเยี่ยม ห้ามประกัน ต้องรอครบวาระเท่านั้น
เฮ้ย!!!!!!!!!แล้วแบบนั้นมันจะต่างอะไรกับสมัยนี้
พูดได้แต่ทำอะไรไม่ได้เลย ต้องรอ รอ รอ
เพื่อลงโทษด้วยการไม่เลือกพรรคนั้น (แหม โทษช่างคิขุจุงเบย)
แบบนี้มันคือ"ผดก.วาระ 4 ปี"ครับผม
ในรัฐธรรมนูญทุกฉบับอนุญาตให้มีการชุมนุมทางการเมือง
รายละเอียดไปหาอ่านเอง คริ คริ
ในรัฐธรรมนูญกำหนดว่าการเข้าชื่อเพื่อถอดถอนรัฐมนตรี สส.
ข้าราชการการเมืองทุกตำแหน่ง ออกจากตำแหน่งได้
เมื่อมีหนทางแบบนี้ กฏหมายกำหนดไว้แบบนี้
ผม คุณ เรา เขา ตะเอง!!! ล้วนอยู่ใต้กฏหมายฉบับเดียวกัน
ทำไมผมต้องรอถึงรัฐบาลครบวาระละครับ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
.
.
.
ระบอบที่ประชาชนไม่สามารถทำอะไรได้เลย
เขาไม่เรียกว่าระบอบประชาธิปไตยหรอกครับ
ขอบคุณ เนส สักจึกส์ อืมมมมม