การที่จิตเรา
ผู้รู้ เข้าไปเกาะเกี่ยว(ตั้งอาศัย) ถึง
ลมเข้า และ
ลมออก (สิ่งที่ถูกรู้)
นี้คือ
การวิจาร ลม เป็น
กายานุปัสนาสติปัฏฐาน#
การที่
จิต เรา เป็นผู้รู้ถึงลมหายใจเข้าและออก
ไม่ยินดีในสิ่งที่เป็นสุข และ
ไม่คับแค้นใจในสิ่งที่เป็นทุกข์
แต่
เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีการ
ทำในใจ เป็นอย่างดีต่อ
ลมเข้า และ
ลมออก
ชื่อว่าเป็น
เวทนานุปัสนาสติปัฏฐาน#
การที่เรานั้น
รู้ว่าจิตนั้นกำลังตั้งอาศัยอยู่ในลม ชื่อว่า
เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่
เป็น
จิตตานุปัสนาสติปัฏฐาน#
จิตที่รู้ลมมีความไม่เที่ยง ดับไปเพราะไป กินอาหารอื่น (ตั้งอาศัยในธรรมธาตุอื่น ที่ไม่ใช่ลม-กาย)
ผู้รู้พึงเห็นความจางคลาย ลงไป
ดับไปของจิต นั้น
ชื่อว่าเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับไม่เหลือ การสละคืน
เป็น
ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน#
เมื่อพิจารณาใคร่ครวญอยู่อย่างนี้ จิตตั้งมั่นในสมาธินี้
ก็ให้เห็นถึงการเกิดขึ้นและดับไปแห่งจิตที่เข้าไปตั้งอาศัยในอารมณ์แห่งการ
วิตก และ
วิจาร นั้น
ขอขอบคุณแหล่งที่มา :
https://kitjawattano.blogspot.com/2013/10/4.html
" อานาปานสติ " ทำให้ " สติปัฏฐาน 4 " บริบรูณ์ อย่างไร ? ...
นี้คือ การวิจาร ลม เป็น กายานุปัสนาสติปัฏฐาน#
การที่ จิต เรา เป็นผู้รู้ถึงลมหายใจเข้าและออก
ไม่ยินดีในสิ่งที่เป็นสุข และ ไม่คับแค้นใจในสิ่งที่เป็นทุกข์
แต่ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีการ ทำในใจ เป็นอย่างดีต่อ ลมเข้า และ ลมออก
ชื่อว่าเป็น เวทนานุปัสนาสติปัฏฐาน#
การที่เรานั้น รู้ว่าจิตนั้นกำลังตั้งอาศัยอยู่ในลม ชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิต อยู่
เป็น จิตตานุปัสนาสติปัฏฐาน#
จิตที่รู้ลมมีความไม่เที่ยง ดับไปเพราะไป กินอาหารอื่น (ตั้งอาศัยในธรรมธาตุอื่น ที่ไม่ใช่ลม-กาย)
ผู้รู้พึงเห็นความจางคลาย ลงไป ดับไปของจิต นั้น
ชื่อว่าเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับไม่เหลือ การสละคืน
เป็น ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน#
เมื่อพิจารณาใคร่ครวญอยู่อย่างนี้ จิตตั้งมั่นในสมาธินี้
ก็ให้เห็นถึงการเกิดขึ้นและดับไปแห่งจิตที่เข้าไปตั้งอาศัยในอารมณ์แห่งการวิตก และวิจาร นั้น
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : https://kitjawattano.blogspot.com/2013/10/4.html