อุเบกขา เป็น
เวทนาอันหนึ่งๆ ใน
เวทนาสาม คือ สุข, ทุกข์, และ อทุกขมสุข (อุเบกขา)
อุเบกขาเป็น
วิหารธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข
อัสสาทะ(คุณ)ของอุเบกขาคือ
ความเป็นผู้ไม่เบียดเบียนต่อใครๆ
และ
อาทีนวะ(โทษ)ของอุเบกขา คือความที่มัน
ดับลงไปได้
พระศาสดาทรงตรัสว่า
สมัยใดเสวยซึ่งอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้นก็มิได้เสวยสุขเวทนา และ ทุกขเวทนา
สมัยนั้นเสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาแต่ฝ่ายเดียว
ดังนั้นหากจะ
ตั้งจิตไว้แล้วด้วยดีเป็นผู้
ตามรักษาซึ่งจิตของตน
พึงเป็นผู้มีจิตตั้งไว้ซึ่งอุเบกขา(ให้จิตตั้งอาศัยในอุเบกขาเวทนา)
แล้ว
พิจารณาเห็นถึง
การเกิดขึ้น, ความตั้งอยู่ไม่ได้(ของเวทนานี้),
คุณ, โทษ และ
อุบายเป็นเครื่องออก
ย่อม
ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ ปัญญา ในการเห็นความแแปรปปรวนไป ตั้งอยู่ไม่ได้ซึ่งเวทนานั้นอยู่
นี้เป็น
ปฏิปทาที่สะดวกต่อการเข้ามรรคผลนิพพานอย่างหนึ่ง
คือเป็นผู้
พิจารณาถึงเวทนามีความ
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และ
ดับไป
พระศาสดาถึงกับกล่าวว่า
สิ่งนี้เป็นความอัศจรรย์ใจ ของ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ขอขอบพระคุณแหล่งที่มา :
https://kitjawattano.blogspot.com/2013/06/blog-post_16.html
อัสสาทะ(คุณ) และ อาทีนวะ(โทษ) ของ " อุเบกขา "
อุเบกขาเป็นวิหารธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข
อัสสาทะ(คุณ)ของอุเบกขาคือความเป็นผู้ไม่เบียดเบียนต่อใครๆ
และอาทีนวะ(โทษ)ของอุเบกขา คือความที่มันดับลงไปได้
พระศาสดาทรงตรัสว่า สมัยใดเสวยซึ่งอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้นก็มิได้เสวยสุขเวทนา และ ทุกขเวทนา
สมัยนั้นเสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาแต่ฝ่ายเดียว
ดังนั้นหากจะตั้งจิตไว้แล้วด้วยดีเป็นผู้ตามรักษาซึ่งจิตของตน
พึงเป็นผู้มีจิตตั้งไว้ซึ่งอุเบกขา(ให้จิตตั้งอาศัยในอุเบกขาเวทนา)
แล้วพิจารณาเห็นถึงการเกิดขึ้น, ความตั้งอยู่ไม่ได้(ของเวทนานี้), คุณ, โทษ และอุบายเป็นเครื่องออก
ย่อมชื่อว่าเป็นผู้มีสติ ปัญญา ในการเห็นความแแปรปปรวนไป ตั้งอยู่ไม่ได้ซึ่งเวทนานั้นอยู่
นี้เป็นปฏิปทาที่สะดวกต่อการเข้ามรรคผลนิพพานอย่างหนึ่ง
คือเป็นผู้พิจารณาถึงเวทนามีความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และ ดับไป
พระศาสดาถึงกับกล่าวว่า สิ่งนี้เป็นความอัศจรรย์ใจ ของ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ขอขอบพระคุณแหล่งที่มา : https://kitjawattano.blogspot.com/2013/06/blog-post_16.html