อย่างคำว่า ชิ้น ภาษาเหนือ ภาษาอีสาน แปลว่า เนื้อสัตว์ มีตกค้างในคำว่า ลูกชิ้น
คำว่า ส้ม ภาษาถิ่นจะแปลว่า เปรี้ยว มีตกค้างในคำว่า สารส้ม น้ำส้มสายชู ปลาส้ม
คำว่า กล้องดูด ภาษาถิ่นจะแปลว่า หลอดดูด หรือ หลอดกาแฟ
คำว่า ขี้คร้าน ภาษาถิ่นจะแปลว่า ขี้เกียจ เกียจคร้าน
มีเหตุผลใดบ้างที่ภาษาไทยกลางเกิดความแตกต่างจากภาษาถิ่น (ซึ่งอาจจะรวมถึงภาษาถิ่นภาคกลางเองด้วย) มีการเข้ารหัสหรือคะ หรือว่าบ่งบอกว่ามีใครได้รับการศึกษามาบ้าง หรือสร้างมาตรฐานใหม่ของภาษากลางที่ใช้สื่อสารกัน
ทำไมภาษาไทยกลาง ต้องถูกทำให้ต่างจากภาษาถิ่นคะ ต้นฉบับของภาษาไทยกลาง มาจากภาษาของชาติพันธุ์ไหน ทำไมจึงเลือกใช้คำนั้น ๆ คะ
คำว่า ส้ม ภาษาถิ่นจะแปลว่า เปรี้ยว มีตกค้างในคำว่า สารส้ม น้ำส้มสายชู ปลาส้ม
คำว่า กล้องดูด ภาษาถิ่นจะแปลว่า หลอดดูด หรือ หลอดกาแฟ
คำว่า ขี้คร้าน ภาษาถิ่นจะแปลว่า ขี้เกียจ เกียจคร้าน
มีเหตุผลใดบ้างที่ภาษาไทยกลางเกิดความแตกต่างจากภาษาถิ่น (ซึ่งอาจจะรวมถึงภาษาถิ่นภาคกลางเองด้วย) มีการเข้ารหัสหรือคะ หรือว่าบ่งบอกว่ามีใครได้รับการศึกษามาบ้าง หรือสร้างมาตรฐานใหม่ของภาษากลางที่ใช้สื่อสารกัน