..
อย่าง ในหนังสือเรียน เขียนว่า พลเมือง หน้าที่พลเมือง
แปลว่า พลเมือง หรือ ซิตีเซ้น มีฐานะเหนือกว่า คำว่า ประชาชน หรือป่าว ครับ
พลเมือง คือคนที่อยู่ในรัฐนั้น เป็นคนที่มีเชื้อชาติของรัฐนั้น มีสิทธิ์เลือกตั้ง ม
มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม จ่ายภาษีครบถ้วน มีความรับผิดชอบต่อสังคม เลยถือว่าเป็นพลเมือง..
_________
แต่ ประชาชน คือ คนที่ อาศัยในรัฐนั้นเท่านั้น อาจมาจากหลายประเทศ
หรือเป็นผู้ลี้ภัย มาอาศัยอยู่ จึงเรียกว่า ประชาชน
แล้วถ้าใช้ความหมายนี้
คนที่มีสิทธิ์ เลือกตั้ง ในประเทศนั้น แต่ ไม่ได้ทำงาน หรือมักจะก่อปัญหาให้กับสังคม
เช่น ขายของแต่ไม่เสียภาษี หรือคนที่ทำผิดกฏระเบียบสังคม จอดรถไม่เป็นที่
กับ
ชาวต่างชาติ ที่มาทำงานในไทย เสียภาษีถูกต้อง ปีละหลายแสน
หรือ มาลงทุนสร้างโรงงานจ้างงานคนไทยเป็นพันคน แต่ไม่ใช่พลเมืองของรัฐ
เราจะใช้ นิยามใด
ในการใช้คำว่า พลเมือง หรือ ประชาชน ..
ผมจะเอาไว้ถกประเด็น นี้กับ ครู พอดีอ่านล่วงหน้า ก่อนเรียนพรุงนี้
คำว่า พลเมือง กับ ประชาชน.ต่างกันหรือไม่ครับ. พลเมืองจะถือว่าอยู่ในระดับที่สูงกว่า คำว่า ประชาชน ใช่หรือไม่
อย่าง ในหนังสือเรียน เขียนว่า พลเมือง หน้าที่พลเมือง
แปลว่า พลเมือง หรือ ซิตีเซ้น มีฐานะเหนือกว่า คำว่า ประชาชน หรือป่าว ครับ
พลเมือง คือคนที่อยู่ในรัฐนั้น เป็นคนที่มีเชื้อชาติของรัฐนั้น มีสิทธิ์เลือกตั้ง ม
มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม จ่ายภาษีครบถ้วน มีความรับผิดชอบต่อสังคม เลยถือว่าเป็นพลเมือง..
_________
แต่ ประชาชน คือ คนที่ อาศัยในรัฐนั้นเท่านั้น อาจมาจากหลายประเทศ
หรือเป็นผู้ลี้ภัย มาอาศัยอยู่ จึงเรียกว่า ประชาชน
แล้วถ้าใช้ความหมายนี้
คนที่มีสิทธิ์ เลือกตั้ง ในประเทศนั้น แต่ ไม่ได้ทำงาน หรือมักจะก่อปัญหาให้กับสังคม
เช่น ขายของแต่ไม่เสียภาษี หรือคนที่ทำผิดกฏระเบียบสังคม จอดรถไม่เป็นที่
กับ
ชาวต่างชาติ ที่มาทำงานในไทย เสียภาษีถูกต้อง ปีละหลายแสน
หรือ มาลงทุนสร้างโรงงานจ้างงานคนไทยเป็นพันคน แต่ไม่ใช่พลเมืองของรัฐ
เราจะใช้ นิยามใด
ในการใช้คำว่า พลเมือง หรือ ประชาชน ..
ผมจะเอาไว้ถกประเด็น นี้กับ ครู พอดีอ่านล่วงหน้า ก่อนเรียนพรุงนี้