ผมแกะมาจาก ดร.วิศิษฐ์ องค์พิพัฒนกุล ใน Money talk ซึ่งน่าจะเป็นมือหนึ่งเรื่อง fund flow
อาจจะมีผิดพลาดบ้าง พยายามตั้งใจฟังอย่างงงๆ เพราะไม่ได้มีความรู้สายนี้ แต่ก็พอจะเห็นภาพของตลาดโลก
ลองอ่านดูครับ เผื่อเป็นประโยชน์
--------------------------------------------------
มองในสองมุม คือ (1) Fund flow (2) Fundamental
1) เศรษฐกิจโลกดีขึ้นจริง GDPปรับเพิ่ม เงินเฟ้อปรับเพิ่มตาม แต่เงินเฟ้อขึ้นด้วยอัตราเร่งมากกว่า GDP เป็นเหตุผลว่าทำไมพันธบัตรเมกาปรับเพิ่มเร็ว เงินเฟ้อเมกาเกิดจากหลายๆมิติ และราคาน้ำมันที่ปรับเพิ่มก็เป็นตัวเร่ง
2) ในหนึ่งเดือนที่ผ่านมาเกิดเหตุการณ์ตามนี้
- ตลาดทุนทั่วโลกให้ผลตอบแทน 5.8% (ซึ่งสูงสุดเป็นอันดับ 3 ในรอบ 30 ปี)
- emerging markets 8.3% (ปีที่แล้วทั้งปีให้ผลตอบแทน 34% ปีนี้แค่ 1 เดือนให้ผล 8.3% )
- น้ำมัน 7%
- หุ้นเมกา 5%
- หุ้นไทย 4.6%
- ตลาดพันธบัตรเมกาให้ผลตอบแทน -1.3% ซึงติดลบเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี 2009 (ปีที่แล้วให้ผลตอบแทน 3%) <=== เน้นตรงนี้
3) ถ้าพันธมัตรเมกา ให้ผลตอบแทนติดลบ แปลว่ามันจะมี fund flow ไหลออกจากตัวตราสารหนี้ของ developed market คือไหลออกจากพันธบัตรเมกา ไหลมาเข้าตลาดหุ้น หรือเข้าตลาดพันธบัตร emerging markets
4) หนึ่งเดือนที่ผ่านมาในประเทศไทย มีเงินไหลเข้าซื้อพันธบัตรไทยกว่า +100,000 ล้าน ขณะที่เงินไหลออกจากตลาดหุ้น -5,000 ล้าน
5) สิ่งที่น่าสนใจคือเงินไหลเข้าตลาดหุ้นจีนถึง 8500 ล้านเหรียญ แปลว่ารอบนี้ fund flow ไหลเข้าตลาดหุ้นจีนเยอะ เพราะ earning ดี GDP โต
6) อเมริกาขึ้นดอกเบี้ยจริง บอนดฺยีลใน 10 ปีขึ้นมา 2.7-2.8% แต่หากไปดูไส้ในจริงๆ แล้วดอกเบี้ยที่แท้จริงหรือ interest rate อยู่แค่ 0.6-0.7% ซึ่งต่ำมากบอนดยีลที่เห็นถึง 2.7-2.8% เป็นส่วนของเงินเฟ้อถึง 2.02%
7) ถ้าดูงบดุลของธนาคารกลางทั่วโลก มีอยู่ทั้งหมด 14 ล้านล้าน เป็นของเมกา 4 ล้าน ขณะที่อีก 10 ล้านเป็นของธราคารกลางยุโรปกับ BOJ ธนาคาร กลางญี่ปุ่น
8) ดูจากดอกเบี้ยฟิวเจอร์จะเห็นว่าทั้งธนาคารกลางยุโรปและญี่ปุ่นในตอนนี้ดอกเบี้ยยังติดลบ นั่นคือเหตุผลว่าเม็ดเงินต่างๆเนี่ยจะเงินไหลเข้าตลาดหุ้นทั่วโลกค่อนข้างเยอะ เพื่อทำกำไรหนีเงินเฟ้อ
9) เพื่อหนีเงินเฟ้อ fund flow ต้องหาผลตอบแทนที่ดีกว่าและจะไหลไปประเทศที่ให้ผลตอบแทนสูง และมีโอกาสแข็งค่าเงินด้วย หนึงเดือนทีผ่านมาค่าเงินไทยแข็งขึ้น 4% ของจีน 3.3% ญปี่ปุ่น 2% มีประเทศเดียวค่าเงินอ่อน คือ ฟิลิปปินส์ เงินที่ไหลเข้าก็เลือกประเทศที่ได้ผลตอบแทนจากค่าเงินด้วย
10) ในส่วยของตลาดไทยเดือนมกรามี fund flow ไหลเข้าตราสารหนี้เยนอะมากทำให้บาทแข็ง แต่กลับไม่เลือกเข้าตลาดหุ้นไทย
11) โดยธรรมชาติ fund flow ที่จะไหลเข้าตลาดหุ้นจะมองใน 3-4 มิติ
- มิติแรกคือ PE หาร growth ซึ่งหุ้นไทยไม่น่าดึงดูดใจ
- มิติสอง Price per book กับ ROE ประเทศไหนก็ตามที่ price per book ต่ำ ROE สูง ก็จะเลือกประเทศนั้นก่อน
- มิติสาม Dividend yield <===ซึ่งตรงนี้ประเทศไทยยังน่าสนใจหากเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน
โดยสรุป
- เรียลบอนดฺจริงยังน้อยแค่ 0.7-0.8% เพราะถูกขับด้วยเงินเฟ้อ และ fund flow จะวิ่งไหลเข้าตลาดหุ้นที่ให้ earning ดีก่อนเป็นอันดับแรก แต่ตัวเลือกแรกไม่ใช่ตลาดหุ้นไทย คาดว่าหุ้นไทยจะเกิดการ correction แต่ในภาพใหญ่จะเป็นปีของตลาดทุนและหุ้นไทยกลุ่มที่มี Dividend yield จะน่าสนใจ และสภาพคล่องของนักลงทุนไทยยังสูงมาก
แกะรอย Fund Flow ของตลาดโลกและตลาดหุ้นไทย ปี2018
อาจจะมีผิดพลาดบ้าง พยายามตั้งใจฟังอย่างงงๆ เพราะไม่ได้มีความรู้สายนี้ แต่ก็พอจะเห็นภาพของตลาดโลก
ลองอ่านดูครับ เผื่อเป็นประโยชน์
--------------------------------------------------
มองในสองมุม คือ (1) Fund flow (2) Fundamental
1) เศรษฐกิจโลกดีขึ้นจริง GDPปรับเพิ่ม เงินเฟ้อปรับเพิ่มตาม แต่เงินเฟ้อขึ้นด้วยอัตราเร่งมากกว่า GDP เป็นเหตุผลว่าทำไมพันธบัตรเมกาปรับเพิ่มเร็ว เงินเฟ้อเมกาเกิดจากหลายๆมิติ และราคาน้ำมันที่ปรับเพิ่มก็เป็นตัวเร่ง
2) ในหนึ่งเดือนที่ผ่านมาเกิดเหตุการณ์ตามนี้
- ตลาดทุนทั่วโลกให้ผลตอบแทน 5.8% (ซึ่งสูงสุดเป็นอันดับ 3 ในรอบ 30 ปี)
- emerging markets 8.3% (ปีที่แล้วทั้งปีให้ผลตอบแทน 34% ปีนี้แค่ 1 เดือนให้ผล 8.3% )
- น้ำมัน 7%
- หุ้นเมกา 5%
- หุ้นไทย 4.6%
- ตลาดพันธบัตรเมกาให้ผลตอบแทน -1.3% ซึงติดลบเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี 2009 (ปีที่แล้วให้ผลตอบแทน 3%) <=== เน้นตรงนี้
3) ถ้าพันธมัตรเมกา ให้ผลตอบแทนติดลบ แปลว่ามันจะมี fund flow ไหลออกจากตัวตราสารหนี้ของ developed market คือไหลออกจากพันธบัตรเมกา ไหลมาเข้าตลาดหุ้น หรือเข้าตลาดพันธบัตร emerging markets
4) หนึ่งเดือนที่ผ่านมาในประเทศไทย มีเงินไหลเข้าซื้อพันธบัตรไทยกว่า +100,000 ล้าน ขณะที่เงินไหลออกจากตลาดหุ้น -5,000 ล้าน
5) สิ่งที่น่าสนใจคือเงินไหลเข้าตลาดหุ้นจีนถึง 8500 ล้านเหรียญ แปลว่ารอบนี้ fund flow ไหลเข้าตลาดหุ้นจีนเยอะ เพราะ earning ดี GDP โต
6) อเมริกาขึ้นดอกเบี้ยจริง บอนดฺยีลใน 10 ปีขึ้นมา 2.7-2.8% แต่หากไปดูไส้ในจริงๆ แล้วดอกเบี้ยที่แท้จริงหรือ interest rate อยู่แค่ 0.6-0.7% ซึ่งต่ำมากบอนดยีลที่เห็นถึง 2.7-2.8% เป็นส่วนของเงินเฟ้อถึง 2.02%
7) ถ้าดูงบดุลของธนาคารกลางทั่วโลก มีอยู่ทั้งหมด 14 ล้านล้าน เป็นของเมกา 4 ล้าน ขณะที่อีก 10 ล้านเป็นของธราคารกลางยุโรปกับ BOJ ธนาคาร กลางญี่ปุ่น
8) ดูจากดอกเบี้ยฟิวเจอร์จะเห็นว่าทั้งธนาคารกลางยุโรปและญี่ปุ่นในตอนนี้ดอกเบี้ยยังติดลบ นั่นคือเหตุผลว่าเม็ดเงินต่างๆเนี่ยจะเงินไหลเข้าตลาดหุ้นทั่วโลกค่อนข้างเยอะ เพื่อทำกำไรหนีเงินเฟ้อ
9) เพื่อหนีเงินเฟ้อ fund flow ต้องหาผลตอบแทนที่ดีกว่าและจะไหลไปประเทศที่ให้ผลตอบแทนสูง และมีโอกาสแข็งค่าเงินด้วย หนึงเดือนทีผ่านมาค่าเงินไทยแข็งขึ้น 4% ของจีน 3.3% ญปี่ปุ่น 2% มีประเทศเดียวค่าเงินอ่อน คือ ฟิลิปปินส์ เงินที่ไหลเข้าก็เลือกประเทศที่ได้ผลตอบแทนจากค่าเงินด้วย
10) ในส่วยของตลาดไทยเดือนมกรามี fund flow ไหลเข้าตราสารหนี้เยนอะมากทำให้บาทแข็ง แต่กลับไม่เลือกเข้าตลาดหุ้นไทย
11) โดยธรรมชาติ fund flow ที่จะไหลเข้าตลาดหุ้นจะมองใน 3-4 มิติ
- มิติแรกคือ PE หาร growth ซึ่งหุ้นไทยไม่น่าดึงดูดใจ
- มิติสอง Price per book กับ ROE ประเทศไหนก็ตามที่ price per book ต่ำ ROE สูง ก็จะเลือกประเทศนั้นก่อน
- มิติสาม Dividend yield <===ซึ่งตรงนี้ประเทศไทยยังน่าสนใจหากเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน
โดยสรุป
- เรียลบอนดฺจริงยังน้อยแค่ 0.7-0.8% เพราะถูกขับด้วยเงินเฟ้อ และ fund flow จะวิ่งไหลเข้าตลาดหุ้นที่ให้ earning ดีก่อนเป็นอันดับแรก แต่ตัวเลือกแรกไม่ใช่ตลาดหุ้นไทย คาดว่าหุ้นไทยจะเกิดการ correction แต่ในภาพใหญ่จะเป็นปีของตลาดทุนและหุ้นไทยกลุ่มที่มี Dividend yield จะน่าสนใจ และสภาพคล่องของนักลงทุนไทยยังสูงมาก