ที่ต้องนำมาลงอีกครั้ง เนิ่องจากเรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องไร้สาระและยังมีสมาชิกให้ความสนใจอยู่ ถึงแม้ว่าจะมีแค่หัวข้อกระทู้เท่านั้น แต่เป็นเรื่องที่น่าขบขัน
ถ้ามองตามหลักการของศาสนาอิสลาม ผู้ที่ปฏิบัติตามอัลกุรอาน จะไม่มีการถูกเรียกว่า Hypocrites ในการกินอาหารฮาล้าล เนื่องจากว่า อัลกุรอาน สอนมนุษย์ ให้ดำเนินชีวิตประจำวันตามธรรมชาติไม่ยุ่งยาก โดยกำหนดสิ่งใดที่มุสลิมกินได้ และสิ่งใดที่เป็นสิ่งต้องห้ามไว้อย่างชัดเจน ซึ่งมุสลิมสามารถเลือกอาหารกินได้ด้วยสติปัญญา อัลกุรอานไม่ได้ กล่าวถึง อนุภาคที่เล็กที่สุดของอาหารต้องห้าม (ฮารอม) เมื่อสมัย 1400 กว่าปีที่ผ่านมา มุสลิมใช้ชีวิตได้ตามปกติสุข ไม่มีความยากลำบากในการกินอยู่ เลือก อาหารที่ ฮารอม หรือ ฮาล้าล ในการบริโภคอย่างไม่มีความลำบาก และไม่ต้องให้มีผู้ใดมาบอกว่า สิ่งนั้นกินได้หรือกินไม่ได้
เรื่องอาหารฮาล้าลตามที่กำหนดและให้ใบรับรอง จากคณะกรรมการมุสลิมกลางร่วมกับสถาบันวิทยาศาสตร์ฮาล้าลเป็นเรื่องของการค้าขาย ไม่ใช่ ทำเพิ่อส่งเสริมหลักการของศาสนาอิสลาม เนื่องจากศาสนาอิสลามมีหลายนิกาย และหลายสำนักกฏหมายอิสลาม ที่กำหนดหลักการ หรือการฟัตวาในเรื่อง สิ่งต้องห้ามและสิ่งที่อนุญาต (ฮารอม และ ฮาล้าล) ไม่เหมือนกัน ด้วยเหตุนี้ สถาบันฮาล้าลทั่วโลกจึงมีการฟัตวาที่ต่างกัน แต่ในสหรัฐอเมริกาได้ทำการผลิตอาหารฮาล้าลมานานกว่า 30 ปี สถาบันนี้ ทำเพื่อมุสลิมผู้บริโภคอย่างแท้จริง สอดส่องไปถึงอาหารที่ใช้เลี้ยงสัตว์แต่ละชนิด ไม่มีการหากำไร ไม่มีการบังคับขาย แต่จะประกาศให้มุสลิมทราบทุกๆระยะว่าอาหารอะไรมีสารของเนื้อหมูปะปนเป็นระยะไป แล้วแต่ว่ามุสลิมนิกายใดจะพิจารณาในการอุปโภคอย่างไรได้หรือไม่
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้MUSLIM CONSUMER GROUP FOR FOOD PRODUCTS USA AND CANADA
Muslim Consumer Group for Food Products is a non-profit, non-political and Islamic scientific organization, incorporated in 1993 as a Halal foods educational and Halal certification organization for Muslims consumers and food industry. Muslim consumers worldwide in over 180 countries with about 4000 daily visitors (According to Google Analytics) logged in to our website for information on Halal food products and food ingredients. Muslim Consumer Group provides services that benefits Muslims.
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล ตรวจได้แต่อนุภาคของเนื้อหมูเท่านั้น โดยอาศัยการตรวจหาสาร Porcine DNA ซึ่งเป็น DNA ของหมู (porcine แปลว่า pork,pig หรือ หมู) ส่วนอนุภาคหรือ DNA ของเนือสัตว์อื่นๆที่ ต้องห้าม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ข้างล่างนี้คือรายการชื่อสัตว์ต่างๆที่เนื้อของมันเป็นเนื้อที่ต้องห้ามตามอัลกุรอาน และเป็นของ ฮารอม มุสลิมบริโภคไม่ได้เช่นเดียวกับเนื้อหมูเช่นเดียวกับเนื้อหมูไม่ได้รับการตรวจสอบ DNA จากสถาบันวิทยาศาสตร์ฮาล้าล ดังนั้นถ้าการผลิตอาหารแหล่งใด เอาเนื้อหมา หรือ เนื้อ สัตว์ที่ฮารอมผสมเข้าไปในการทำไส้กรอก ก็ไม่อาจจะทราบได้โดยขบวนการวิทยาศาสตร์ฮาล้าล นี่เป็นข้อบกพร่องต่อหลักศรัทธาของศาสนาอิสลามโดยที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลกำหนดขึ้นมาโดยละเว้นสัตว์ที่หะรอมหลายชนิที่สำคัญเท่ากับหมู ปิดบังหลักการศรัทธาของมุสลิมเพื่อความสดวกในการขายตราฮาล้าล ทั้งนี้เพราะว่า ตามปกติ ถ้าไม่มีตราฮาล้าลแล้วมุสลิมจะไม่กินอาหาร ประเภทเนื้อที่มุสลิมไม่ได้ปรุงขาย แต่เนื่องจากตราฮาล้าล เป็นเครื่องหมายการค้าโดยตรงที่ทางกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยทำขาย จึงทำให้มุสลิมหลงผิดอจจะกินเนื้อสัตว์อื่นๆที่เป็นสัตว์ต้องห้ามเช่นเดียวกับหมูก็ได้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ญาบิร รายงานว่า ท่านนบี(ซอลลัล ลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม) ห้ามกินเนื้อแมว" (อิบนฺ มะญะฮ์ และ อัล ติรมิซิ)
อีกหะดีษจากอาบูดาห์ลาห์ รายงานว่า: ท่านนบี( ซอลลัล ลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม) ห้ามกินเนื้อลา" [รายงานโดยอิมามอัลบุคอรีและมุสลิม]
สำหรับสุนัขก็เป็นสิ่งที่ไม่บริสุทธิ์ตามที่นักวิชาการส่วนใหญ่ อาบู ฮุรัยเราะ รายงานว่าท่านนบี ( ซอลลัล ลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม) กล่าวว่า "การล้างภาชนะที่สุนัขเลียโดยการล้างเจ็ดครั้ง" [รายงานโดยอิหม่ามมุสลิม] เนื้อสุนัขมุสลิมกินได้?
เครื่องดื่มตราฮาล้าลปราศจากสารแอลกอฮอล์ จริงหรือ? เนื่องจากเครื่องดื่มและอาหารบางอย่าง มีขบวนการปรุงแต่งด้วยสารแอลกอฮอล์ หรือสารประกอบแอลกอฮอล์ (Ethanol, also called alcohol, ethyl alcohol, and drinking alcohol) มุสลิมชาวฮาดีษ โดยเฉพาะ อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วะอัลญะมาอะฮ์ (أهل السنة والجماعة) ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล ได้กำหนดปริมาณแอลกอฮอล์ในสารอาหารมีได้ไม่เกิน 0.5 - 1.0% ปริมาตร/ปริมาตร
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ค่ากำหนดปริมาณแอลกอฮอล์ในอาหารและเครื่องดื่มฮาล้าลโดยศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาล้าล
1.เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์และขบวนการหรือการตระเตียมไม่ใช่เพื่อทำเหล้าไวน์และแอลกอฮอล์ที่มีระดับต่ำกว่า 1% ปริมาตร/ปริมาต (แอลกอฮอล์ 1ลิตรในของเหลว 99.0 ลิตร) แอลกอฮอล์ที่ระดับต่ำกว่า 1% v / v ถิอว่ามุสลิมบริโภคได้
2.อาหารหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ตามธรรมชาติเช่นผลไม้พืชตระกูลถั่วหรือธัญพืชและน้ำผลไม้หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ มีแอลกอฮอล์ที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการทำอาหารหรือเครื่องดื่มไม่ถือว่าไม่สะอาด มุสลิมบริโภคได้
3.อาหารหรือเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของเครื่องปรุงรสชาดหรือสีสรรค์ ที่มีแอลกอฮอล์เพื่อการรักษาเสถียรภาพคือเป็นสิ่งที่ต้องใช้ถ้าแอลกอฮอล์นั้นไม่ได้มาจากกระบวนการผลิตไวน์และปริมาณแอลกอฮอล์ในผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายที่ไม่เป็นพิษและมีแอลกอฮอล์ ไม่เกิน 0.5%
สรุป:
1.ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล ไม่อาจจะจัดหา เครื่องอุปโภคและบริโภค ที่ฮาล้าล 100% ให้กับผู้บริโภคที่เป็นมุสลิมได้ เนื่องจากเครื่องมือและอุปกรณ์ ทางเทคโนโลยีมีขีดจำกัด ตรวจได้เฉพาะการเจือปนของ porcine DNA เท่านั้น ไม่อาจจะ ตรวจ DNA ของสัตว์ฮารอม ชนิดอื่นๆ ไปพร้อมๆกันได้ เช่น เนื้อสุนัข และ เนื้อจรเข้ ฯลฯ
2.การตรวจสอบ DNA ของสัตว์ต้องห้าม(ฮารอม) ไม่มีความจำเป็น เนื่องจาก นอกเหนือจากความมุ่งหมายของอัลกุรอานในการบริโภคเนื้อสัตว์ เพราะมุสลิมแต่ละคนจะต้องมีความสามารถที่จะพิจารณาเองว่า อาหารใดฮาล้าลหรือฮารอม หรือใครเป็นผู้ปรุง และอีกประการหนึ่งคือ อาหารที่ปรุงด้วยเนื้อฮาล้าล นั้น ไม่อาจจะรับรองได้
3.ไม่อาจจะขจัดแอลกอฮอล์ให้หมดไปจากอาหารได้ อาหารนั้นยังคงเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับมุสลิม
มุสลิมชาวฮาดีษ ไม่ว่าจะเป็นวะฮาบีย์ หรือ อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วะอัลญะมาอะฮ์ (أهل السنة والجماعة) คงจะยอมรับไม่ได้ว่าเป็นอาหารฮาล้าลที่แท้จริง
สถาบันวิทยาศาสตร์ฮาล้าล เป็นหลักประกันอาหารฮาล้าล ตามหลักศรัทธาของศาสนาอิสลามได้หรือ?
เรื่องอาหารฮาล้าลตามที่กำหนดและให้ใบรับรอง จากคณะกรรมการมุสลิมกลางร่วมกับสถาบันวิทยาศาสตร์ฮาล้าลเป็นเรื่องของการค้าขาย ไม่ใช่ ทำเพิ่อส่งเสริมหลักการของศาสนาอิสลาม เนื่องจากศาสนาอิสลามมีหลายนิกาย และหลายสำนักกฏหมายอิสลาม ที่กำหนดหลักการ หรือการฟัตวาในเรื่อง สิ่งต้องห้ามและสิ่งที่อนุญาต (ฮารอม และ ฮาล้าล) ไม่เหมือนกัน ด้วยเหตุนี้ สถาบันฮาล้าลทั่วโลกจึงมีการฟัตวาที่ต่างกัน แต่ในสหรัฐอเมริกาได้ทำการผลิตอาหารฮาล้าลมานานกว่า 30 ปี สถาบันนี้ ทำเพื่อมุสลิมผู้บริโภคอย่างแท้จริง สอดส่องไปถึงอาหารที่ใช้เลี้ยงสัตว์แต่ละชนิด ไม่มีการหากำไร ไม่มีการบังคับขาย แต่จะประกาศให้มุสลิมทราบทุกๆระยะว่าอาหารอะไรมีสารของเนื้อหมูปะปนเป็นระยะไป แล้วแต่ว่ามุสลิมนิกายใดจะพิจารณาในการอุปโภคอย่างไรได้หรือไม่
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล ตรวจได้แต่อนุภาคของเนื้อหมูเท่านั้น โดยอาศัยการตรวจหาสาร Porcine DNA ซึ่งเป็น DNA ของหมู (porcine แปลว่า pork,pig หรือ หมู) ส่วนอนุภาคหรือ DNA ของเนือสัตว์อื่นๆที่ ต้องห้าม [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ เช่นเดียวกับเนื้อหมูไม่ได้รับการตรวจสอบ DNA จากสถาบันวิทยาศาสตร์ฮาล้าล ดังนั้นถ้าการผลิตอาหารแหล่งใด เอาเนื้อหมา หรือ เนื้อ สัตว์ที่ฮารอมผสมเข้าไปในการทำไส้กรอก ก็ไม่อาจจะทราบได้โดยขบวนการวิทยาศาสตร์ฮาล้าล นี่เป็นข้อบกพร่องต่อหลักศรัทธาของศาสนาอิสลามโดยที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลกำหนดขึ้นมาโดยละเว้นสัตว์ที่หะรอมหลายชนิที่สำคัญเท่ากับหมู ปิดบังหลักการศรัทธาของมุสลิมเพื่อความสดวกในการขายตราฮาล้าล ทั้งนี้เพราะว่า ตามปกติ ถ้าไม่มีตราฮาล้าลแล้วมุสลิมจะไม่กินอาหาร ประเภทเนื้อที่มุสลิมไม่ได้ปรุงขาย แต่เนื่องจากตราฮาล้าล เป็นเครื่องหมายการค้าโดยตรงที่ทางกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยทำขาย จึงทำให้มุสลิมหลงผิดอจจะกินเนื้อสัตว์อื่นๆที่เป็นสัตว์ต้องห้ามเช่นเดียวกับหมูก็ได้
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เครื่องดื่มตราฮาล้าลปราศจากสารแอลกอฮอล์ จริงหรือ? เนื่องจากเครื่องดื่มและอาหารบางอย่าง มีขบวนการปรุงแต่งด้วยสารแอลกอฮอล์ หรือสารประกอบแอลกอฮอล์ (Ethanol, also called alcohol, ethyl alcohol, and drinking alcohol) มุสลิมชาวฮาดีษ โดยเฉพาะ อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วะอัลญะมาอะฮ์ (أهل السنة والجماعة) ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล ได้กำหนดปริมาณแอลกอฮอล์ในสารอาหารมีได้ไม่เกิน 0.5 - 1.0% ปริมาตร/ปริมาตร [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สรุป:
1.ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล ไม่อาจจะจัดหา เครื่องอุปโภคและบริโภค ที่ฮาล้าล 100% ให้กับผู้บริโภคที่เป็นมุสลิมได้ เนื่องจากเครื่องมือและอุปกรณ์ ทางเทคโนโลยีมีขีดจำกัด ตรวจได้เฉพาะการเจือปนของ porcine DNA เท่านั้น ไม่อาจจะ ตรวจ DNA ของสัตว์ฮารอม ชนิดอื่นๆ ไปพร้อมๆกันได้ เช่น เนื้อสุนัข และ เนื้อจรเข้ ฯลฯ
2.การตรวจสอบ DNA ของสัตว์ต้องห้าม(ฮารอม) ไม่มีความจำเป็น เนื่องจาก นอกเหนือจากความมุ่งหมายของอัลกุรอานในการบริโภคเนื้อสัตว์ เพราะมุสลิมแต่ละคนจะต้องมีความสามารถที่จะพิจารณาเองว่า อาหารใดฮาล้าลหรือฮารอม หรือใครเป็นผู้ปรุง และอีกประการหนึ่งคือ อาหารที่ปรุงด้วยเนื้อฮาล้าล นั้น ไม่อาจจะรับรองได้
3.ไม่อาจจะขจัดแอลกอฮอล์ให้หมดไปจากอาหารได้ อาหารนั้นยังคงเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับมุสลิม
มุสลิมชาวฮาดีษ ไม่ว่าจะเป็นวะฮาบีย์ หรือ อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วะอัลญะมาอะฮ์ (أهل السنة والجماعة) คงจะยอมรับไม่ได้ว่าเป็นอาหารฮาล้าลที่แท้จริง