ปีก่อนนักวิจัยทางมหาวิทยาลัยเพนซิวาเนีย Alexander J.Stewart กับ Joshua B.Plotkin ได้ทำการตีพิมพ์เผยแพร่งานเขียนทางคณิตศาสตร์ว่า เพราะอะไรสังคมกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ถึงมีวิวัฒนาการไปตามธรรมชาติ โดยมีการใช้หลักทฤษฎีเกมโดยทำการจำลองรูปแบบภาวะลำบากของนักโทษ พวกเขาพบว่ากลยุทธ์ความเผื่อแผ่นั้น เป็นเพียงทางเดียวที่จะช่วยเข้าถึงความสำเร็จได้พร้อมๆกัน โดยเกมนี้ก็มีรูปแบบที่จะต้องติดตามผลในระยะยาว
แต่ในตอนนี้พวกเขากลับพบว่า วิวัฒนาการนี้ดูเหมือนไม่ค่อยสดใสเท่าไรนัก โดยมีการจำลองรูปแบบการวิเคราะห์ภาวะลำบากของนักโทษในลักษณะที่กว้างมากขึ้น โดยดูวิวัฒนาการองค์รวม พวกเขาพบว่า ยิ่งเพิ่มความยืดหยุ่นมากเท่าไร เกมก็ยิ่งมีการใช้กลยุทธ์ความเห็นแก่ตัวมากขึ้นเพื่อบรรลุผลตามที่ตัวเองต้องการมากขึ้นเท่านั้น แม้ว่ารูปแบบจะดูไม่ค่อยสอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง แต่ดูเหมือนจะยิ่งช่วยเข้าใจมุมมองถึงความสมดุลระหว่างสังคมกับความเห็นแก่ตัวในทางธรรมชาติ
“แรงกดดันบางส่วนค่อยๆมีวิวัฒนาการขึ้นมา แต่มันก็เป็นอารมณ์ความรู้สึกทางสัญชาตญาณ” กล่าวโดย Plotkin ซึ่งเป็นศาสตราจารย์แผนกชีววิทยา ซึ่งเป็นผู้เขียนร่วมกับ Stewart โดยมีการศึกษากันในห้องทดลองของเขา “พวกเรามองเห็นภาพสวยๆเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่ช่วยส่งเสริมสังคมไปจนถึงการให้ความสนใจตัวเองกับบางสิ่งบางอย่าง แต่เมื่อพวกเราได้ดูการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของเกมแล้ว มันค่อยๆมีกระบวนการวิวัฒนาการขึ้นมาตามลำดับ และค่อยๆมีการแสดงออกถึงข้อบกพร่องชัดเจนมากขึ้น
จากการศึกษาของพวกเขาก็ปรากฏอยู่ในรายงานทางวิชาการ โดยมีการทดสอบผลลัพธ์ที่ออกมาด้วยรูปแบบภาวะลำบากของนักโทษ โดยทฤษฎีเกมมีการจำลองเหตุการณ์เพื่อที่จะทำความเข้าใจว่า แต่ละคนมีการตัดสินใจอย่างไรท่ามกลางภาวะลำบากทางสังคม หากทั้งสองผู้เล่นต่างรับสารภาพ พวกเขาทั้งสองก็ไม่ต้องรับโทษอะไร หากคนหนึ่งรับแต่อีกคนหนึ่งไม่รับ คนที่รับสารภาพก็จะได้รับโทษสถานเบาเท่าที่จะเป็นไปได้ และแสดงให้เห็นถึงข้อบกพร่องของผู้เล่นอีกฝ่ายเป็นอย่างดี หากผู้เล่นทั้งสองไม่รับสารภาพ พวกเขาทั้งสองต่างก็ได้รับโทษเท่ากัน ซึ่งพวกเขามองไม่ออกว่าไม่มีประโยชน์อะไรที่พวกเขาทั้งสองจะให้การรับสารภาพ พูดง่ายๆก็คือ ได้รับโทษร่วมกัน แต่ก็เป็นโทษที่เป็นประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่าย
Stewart กับ Plotkin ได้ทำการทดลองศึกษาก่อนหน้านี้ซ้ำๆและทำการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจำลองภาวะลำบากของนักโทษ ซึ่งผู้เล่นต่างก็ได้รับผลกระทบจากการเล่นเกมซ้ำๆ ผู้เล่นที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะมีการเล่นเกมซ้ำๆและทำการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ที่จะนำไปสู่ชัยชนะได้ในคนรุ่นต่อไป นักวิจัยหลายคนพบว่า ในแต่ละเหตุการณ์ สังคมหรือแม้แต่การให้อภัยก็เป็นกลยุทธ์นั้นจะนำไปสู่ชัยชนะได้ ส่วนหนึ่งก็เนื่องจากผู้เล่นที่ขี้โกงไม่มีทางที่จะเล่นเกมชนะได้
จากการค้นพบใหม่นั้น ทางด้าน Stewart กับ Plotkin ได้เพิ่มประเด็นใหม่เข้ามา ตอนนี้ไม่เพียงแค่ผู้เล่นแต่ละคนจะต้องทำการฝึกฝนกลยุทธ์การเล่นเกม ไม่ว่าพวกเขาจะให้ความร่วมมือในการเล่นเกมหรือไม่ก็ตาม พวกเขาสามารถร่วมมือหาทางออกที่จะไม่ต้องรับโทษได้หลายแนวทางด้วยกัน
ตรงส่วนนี้ Plotkin ได้กล่าวว่า อาจจะมีบางส่วนที่สะท้อนถึงความสมดุลระหว่างความเสี่ยงกับผลตอบแทบที่เกิดขึ้นในทางธรรมชาติ ซึ่งระบบได้ทำการประเมินไม่เพียงแค่ในเรื่องความร่วมมือบ่อยแค่ไหนเท่านั้น แต่ยังเป็นการประเมินด้วยว่า พวกเขาให้ความร่วมมืออย่างจริงจังแค่ไหน
การศึกษาก่อนหน้านี้ในช่วงแรกพบว่า กลยุทธ์การให้ความร่วมมือนำไปสู่ความสำเร็จในการเล่นเกม
“แต่เมื่อกลยุทธ์การให้ความร่วมมือมีอำนาจเหนือกว่า การลดหย่อนโทษก็จะมีโอกาสเพิ่มขึ้นตามมา “Stewart กล่าว “ยิ่งมีการลดหย่อนโทษมากเท่าไร ก็ยิ่งมีการแสดงออกถึงข้อบกพร่องมากขึ้นเท่านั้น อารมณ์ความรู้สึกของผู้คนสุดท้ายก็จะมีการปูทางไปสู่ตอนจบของเกม”
จริงๆแล้ว Stewart กับ Plotkin พบว่าผู้เล่นแต่ละคนสามารถเข้าถึงจุดพลิกผันได้หลังจากที่ละเลยการใช้กลยุทธ์ที่สร้างอำนาจเหนือกว่า
การวิเคราะห์ต่อมานั้น พวกเขาได้ทำการตรวจสอบการลดหย่อนโทษจากรูปแบบจำลองภาวะลำบากของนักโทษ แทนที่จะเป็นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะในการได้รับผลตอบแทนสูงสุด ตัวอย่างเช่น มีความเป็นไปได้ว่า การลดหย่อนโทษเป็นประโยชน์สูงสุดต่อทั้งสองฝ่าย การจำลองเกมนี้เป็นที่รู้จักกันในเกมที่ชื่อเกมล่ากวาง หรือผู้เล่นทั้งสองฝ่ายมีความเป็นไปได้ว่าได้รับประโยชน์น้อยสุด ซึ่งเกมนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ Snowdrift หรือเหยี่ยว-พิราบ
สิ่งที่พวกเขาพบนั้นก็คือ การใช้กลยุทธ์ที่นำไปสู่การทำลายมิตรภาพ แต่เนื่องจากผู้เล่นยังคงเล่นเกมต่อไปและค่อยๆมีการปรับเปลี่ยนท่าทีการเล่นเกม ผู้เล่นแต่ละคนก็ค่อยๆหาวิธีการที่นำไปสู่การลดหย่อนโทษ เนื่องจากพวกเขามีวิธีการเล่นเกมในทางที่แตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นการเล่นเกม Snowdrift หรือเหยี่ยว-พิราบ
“เนื่องจากพวกเราเห็นถึงความซับซ้อนในการเล่นเกมที่นำไปสู่การลดหย่อนโทษ” Plotkin กล่าว “ผลลัพธ์ที่น่าสนใจอย่างหนึ่งก็คือ เกมภาวะลำบากของนักโทษไม่สามารถเล่นเกมแบบนี้ได้และจะมีการแทนที่ด้วยการเล่นเกมรูปแบบอื่นๆ เหมือนกับว่ามีการปรับเปลี่ยนการเล่นเกมเพื่อไม่ให้เกิดภาวะลำบากใจขึ้นมา”
Stewart กับ Plotkin ได้กล่าวถึงแนวคิดใหม่ของพวกเขาเกี่ยวกับการทดสอบกลยุทธ์ต่างๆกับการลดหย่อนโทษร่วมกันในแบบผู้ใหญ่ พร้อมกับเปรียบเทียบรูปแบบแบคทีเรีย Vibrionaceae เป็นหลัก ในรูปแบบของแบคทีเรียนั้น ทางด้านนักวิจัยได้ทำการบันทึกว่า แบคทีเรียแต่ละชนิดมีการแชร์โปรตีนทีละเล็กละน้อยเพื่อทำให้เกิดกระบวนการสร้างธาตุเหล็กขึ้นมา แต่แบคทีเรียมีความสามารถในการเปลี่ยนกระบวนการผลิตโปรตีนและควบคุมการผลิตมากน้อยแค่ไหนตามใจชอบได้ ไม่ว่าพวกมันจะมีการให้ความร่วมมือกันยังไง ก็ยังมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการดูดซับโปรตีน การลดหย่อนโทษนั้น ทางด้านนักวิจัยก็ได้กล่าวว่า ในการทดลองโดยธรรมชาตินั้นจะมีการใช้แบคทีเรียหรือเชื้อจุลินทรีย์มาใช้ในการทดสอบทางทฤษฎีเพื่อที่จะทำความเข้าใจว่า มีกระบวนการที่คำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดมากแค่ไหน
“หลังจากที่ได้ทำการศึกษาแล้ว พวกเราก็เริ่มเข้าใจถึงมุมมองวิวัฒนาการทางสังคม” Stewart กล่าว “แต่ก็ดูเหมือนจะมีความจริงที่ไม่สามารถพบกรณีตัวอย่างได้ว่า วิวัฒนาการมีแนวโน้มที่จะจบสวยหลังจากนั้น”
ผู้แปล : Mr.lawrence10
ที่มา : sciencedaily.com
ทฤษฎีเกมช่วยวิเคราะห์ได้ว่า มีการทำลายมิตรภาพทางสังคมอย่างไร
ปีก่อนนักวิจัยทางมหาวิทยาลัยเพนซิวาเนีย Alexander J.Stewart กับ Joshua B.Plotkin ได้ทำการตีพิมพ์เผยแพร่งานเขียนทางคณิตศาสตร์ว่า เพราะอะไรสังคมกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ถึงมีวิวัฒนาการไปตามธรรมชาติ โดยมีการใช้หลักทฤษฎีเกมโดยทำการจำลองรูปแบบภาวะลำบากของนักโทษ พวกเขาพบว่ากลยุทธ์ความเผื่อแผ่นั้น เป็นเพียงทางเดียวที่จะช่วยเข้าถึงความสำเร็จได้พร้อมๆกัน โดยเกมนี้ก็มีรูปแบบที่จะต้องติดตามผลในระยะยาว
แต่ในตอนนี้พวกเขากลับพบว่า วิวัฒนาการนี้ดูเหมือนไม่ค่อยสดใสเท่าไรนัก โดยมีการจำลองรูปแบบการวิเคราะห์ภาวะลำบากของนักโทษในลักษณะที่กว้างมากขึ้น โดยดูวิวัฒนาการองค์รวม พวกเขาพบว่า ยิ่งเพิ่มความยืดหยุ่นมากเท่าไร เกมก็ยิ่งมีการใช้กลยุทธ์ความเห็นแก่ตัวมากขึ้นเพื่อบรรลุผลตามที่ตัวเองต้องการมากขึ้นเท่านั้น แม้ว่ารูปแบบจะดูไม่ค่อยสอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง แต่ดูเหมือนจะยิ่งช่วยเข้าใจมุมมองถึงความสมดุลระหว่างสังคมกับความเห็นแก่ตัวในทางธรรมชาติ
“แรงกดดันบางส่วนค่อยๆมีวิวัฒนาการขึ้นมา แต่มันก็เป็นอารมณ์ความรู้สึกทางสัญชาตญาณ” กล่าวโดย Plotkin ซึ่งเป็นศาสตราจารย์แผนกชีววิทยา ซึ่งเป็นผู้เขียนร่วมกับ Stewart โดยมีการศึกษากันในห้องทดลองของเขา “พวกเรามองเห็นภาพสวยๆเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่ช่วยส่งเสริมสังคมไปจนถึงการให้ความสนใจตัวเองกับบางสิ่งบางอย่าง แต่เมื่อพวกเราได้ดูการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของเกมแล้ว มันค่อยๆมีกระบวนการวิวัฒนาการขึ้นมาตามลำดับ และค่อยๆมีการแสดงออกถึงข้อบกพร่องชัดเจนมากขึ้น
จากการศึกษาของพวกเขาก็ปรากฏอยู่ในรายงานทางวิชาการ โดยมีการทดสอบผลลัพธ์ที่ออกมาด้วยรูปแบบภาวะลำบากของนักโทษ โดยทฤษฎีเกมมีการจำลองเหตุการณ์เพื่อที่จะทำความเข้าใจว่า แต่ละคนมีการตัดสินใจอย่างไรท่ามกลางภาวะลำบากทางสังคม หากทั้งสองผู้เล่นต่างรับสารภาพ พวกเขาทั้งสองก็ไม่ต้องรับโทษอะไร หากคนหนึ่งรับแต่อีกคนหนึ่งไม่รับ คนที่รับสารภาพก็จะได้รับโทษสถานเบาเท่าที่จะเป็นไปได้ และแสดงให้เห็นถึงข้อบกพร่องของผู้เล่นอีกฝ่ายเป็นอย่างดี หากผู้เล่นทั้งสองไม่รับสารภาพ พวกเขาทั้งสองต่างก็ได้รับโทษเท่ากัน ซึ่งพวกเขามองไม่ออกว่าไม่มีประโยชน์อะไรที่พวกเขาทั้งสองจะให้การรับสารภาพ พูดง่ายๆก็คือ ได้รับโทษร่วมกัน แต่ก็เป็นโทษที่เป็นประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่าย
Stewart กับ Plotkin ได้ทำการทดลองศึกษาก่อนหน้านี้ซ้ำๆและทำการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจำลองภาวะลำบากของนักโทษ ซึ่งผู้เล่นต่างก็ได้รับผลกระทบจากการเล่นเกมซ้ำๆ ผู้เล่นที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะมีการเล่นเกมซ้ำๆและทำการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ที่จะนำไปสู่ชัยชนะได้ในคนรุ่นต่อไป นักวิจัยหลายคนพบว่า ในแต่ละเหตุการณ์ สังคมหรือแม้แต่การให้อภัยก็เป็นกลยุทธ์นั้นจะนำไปสู่ชัยชนะได้ ส่วนหนึ่งก็เนื่องจากผู้เล่นที่ขี้โกงไม่มีทางที่จะเล่นเกมชนะได้
จากการค้นพบใหม่นั้น ทางด้าน Stewart กับ Plotkin ได้เพิ่มประเด็นใหม่เข้ามา ตอนนี้ไม่เพียงแค่ผู้เล่นแต่ละคนจะต้องทำการฝึกฝนกลยุทธ์การเล่นเกม ไม่ว่าพวกเขาจะให้ความร่วมมือในการเล่นเกมหรือไม่ก็ตาม พวกเขาสามารถร่วมมือหาทางออกที่จะไม่ต้องรับโทษได้หลายแนวทางด้วยกัน
ตรงส่วนนี้ Plotkin ได้กล่าวว่า อาจจะมีบางส่วนที่สะท้อนถึงความสมดุลระหว่างความเสี่ยงกับผลตอบแทบที่เกิดขึ้นในทางธรรมชาติ ซึ่งระบบได้ทำการประเมินไม่เพียงแค่ในเรื่องความร่วมมือบ่อยแค่ไหนเท่านั้น แต่ยังเป็นการประเมินด้วยว่า พวกเขาให้ความร่วมมืออย่างจริงจังแค่ไหน
การศึกษาก่อนหน้านี้ในช่วงแรกพบว่า กลยุทธ์การให้ความร่วมมือนำไปสู่ความสำเร็จในการเล่นเกม
“แต่เมื่อกลยุทธ์การให้ความร่วมมือมีอำนาจเหนือกว่า การลดหย่อนโทษก็จะมีโอกาสเพิ่มขึ้นตามมา “Stewart กล่าว “ยิ่งมีการลดหย่อนโทษมากเท่าไร ก็ยิ่งมีการแสดงออกถึงข้อบกพร่องมากขึ้นเท่านั้น อารมณ์ความรู้สึกของผู้คนสุดท้ายก็จะมีการปูทางไปสู่ตอนจบของเกม”
จริงๆแล้ว Stewart กับ Plotkin พบว่าผู้เล่นแต่ละคนสามารถเข้าถึงจุดพลิกผันได้หลังจากที่ละเลยการใช้กลยุทธ์ที่สร้างอำนาจเหนือกว่า
การวิเคราะห์ต่อมานั้น พวกเขาได้ทำการตรวจสอบการลดหย่อนโทษจากรูปแบบจำลองภาวะลำบากของนักโทษ แทนที่จะเป็นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะในการได้รับผลตอบแทนสูงสุด ตัวอย่างเช่น มีความเป็นไปได้ว่า การลดหย่อนโทษเป็นประโยชน์สูงสุดต่อทั้งสองฝ่าย การจำลองเกมนี้เป็นที่รู้จักกันในเกมที่ชื่อเกมล่ากวาง หรือผู้เล่นทั้งสองฝ่ายมีความเป็นไปได้ว่าได้รับประโยชน์น้อยสุด ซึ่งเกมนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ Snowdrift หรือเหยี่ยว-พิราบ
สิ่งที่พวกเขาพบนั้นก็คือ การใช้กลยุทธ์ที่นำไปสู่การทำลายมิตรภาพ แต่เนื่องจากผู้เล่นยังคงเล่นเกมต่อไปและค่อยๆมีการปรับเปลี่ยนท่าทีการเล่นเกม ผู้เล่นแต่ละคนก็ค่อยๆหาวิธีการที่นำไปสู่การลดหย่อนโทษ เนื่องจากพวกเขามีวิธีการเล่นเกมในทางที่แตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นการเล่นเกม Snowdrift หรือเหยี่ยว-พิราบ
“เนื่องจากพวกเราเห็นถึงความซับซ้อนในการเล่นเกมที่นำไปสู่การลดหย่อนโทษ” Plotkin กล่าว “ผลลัพธ์ที่น่าสนใจอย่างหนึ่งก็คือ เกมภาวะลำบากของนักโทษไม่สามารถเล่นเกมแบบนี้ได้และจะมีการแทนที่ด้วยการเล่นเกมรูปแบบอื่นๆ เหมือนกับว่ามีการปรับเปลี่ยนการเล่นเกมเพื่อไม่ให้เกิดภาวะลำบากใจขึ้นมา”
Stewart กับ Plotkin ได้กล่าวถึงแนวคิดใหม่ของพวกเขาเกี่ยวกับการทดสอบกลยุทธ์ต่างๆกับการลดหย่อนโทษร่วมกันในแบบผู้ใหญ่ พร้อมกับเปรียบเทียบรูปแบบแบคทีเรีย Vibrionaceae เป็นหลัก ในรูปแบบของแบคทีเรียนั้น ทางด้านนักวิจัยได้ทำการบันทึกว่า แบคทีเรียแต่ละชนิดมีการแชร์โปรตีนทีละเล็กละน้อยเพื่อทำให้เกิดกระบวนการสร้างธาตุเหล็กขึ้นมา แต่แบคทีเรียมีความสามารถในการเปลี่ยนกระบวนการผลิตโปรตีนและควบคุมการผลิตมากน้อยแค่ไหนตามใจชอบได้ ไม่ว่าพวกมันจะมีการให้ความร่วมมือกันยังไง ก็ยังมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการดูดซับโปรตีน การลดหย่อนโทษนั้น ทางด้านนักวิจัยก็ได้กล่าวว่า ในการทดลองโดยธรรมชาตินั้นจะมีการใช้แบคทีเรียหรือเชื้อจุลินทรีย์มาใช้ในการทดสอบทางทฤษฎีเพื่อที่จะทำความเข้าใจว่า มีกระบวนการที่คำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดมากแค่ไหน
“หลังจากที่ได้ทำการศึกษาแล้ว พวกเราก็เริ่มเข้าใจถึงมุมมองวิวัฒนาการทางสังคม” Stewart กล่าว “แต่ก็ดูเหมือนจะมีความจริงที่ไม่สามารถพบกรณีตัวอย่างได้ว่า วิวัฒนาการมีแนวโน้มที่จะจบสวยหลังจากนั้น”
ผู้แปล : Mr.lawrence10
ที่มา : sciencedaily.com