ตามธรรมดาแล้ว ฝ่ายที่มีความมั่นใจในความบริสุทธิ์ อยากช่วยหลวงพ่อตัวเองให้พ้นจากคุกในวัด ลบล้างคำครหา
ควรกระตือรือร้น
กระเหี้ยนกระหือรือ หอบหิ้วหลักฐานไปแสดงความบริสุทธิ์ ถึงจะต้องลุยน้ำลุยไฟเพื่อช่วยหลวงพ่อ ก็ต้องยอมทำ
กะการไปเป็นพยานยืนยันความบริสุทธิ์ของหลวงพ่อตัวเองแท้ๆ กลับอิดเอื้อนไม่ยอมไป !!
ยกข้อกฏหมายมาอ้างว่า ห้ามให้พระไปเป็นพยาน อย่างดีอกดีใจ ทำอินโฟกราฟิกอย่างใหญ่ ราวกับว่า
"โอ เพราะกฏหมายข้อนี้ เรารอดแล้ว"
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ทั้งๆ ที่ควรจะถือกฏหมายข้อนี้ เป็นอุปสรรคต่อการไปแสดงความบริสุทธิ์เพื่อหลวงพ่อ มิใช่หรือ !!!
ท่านอยากช่วยหลวงพ่อใจจะขาดไม่ใช่เหรอ ไปสิครับ โอกาสมาถึงแล้ว
เป็นวิธีการที่ถูกต้อง โปร่งใส ง่ายๆ ดีกว่ามานั่งสมาธิปิดวัดอีกนะครับ
--------------------
เพิ่มเติม
อย่างไรก็ตาม กฏหมายข้อนี้ ว่าอย่างนี้นะครับ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 106/1(2) ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ระบุว่าห้ามมิให้ออกหมายเรียกพระภิกษุมาเป็นพยานไม่ว่ากรณีใดๆ (
เป็นการบอกไม่หมด แม้หลักนี้เป็นหลักในคดีแพ่งที่เอามาใช้ในคดีอาญาด้วย แต่มาตรา 106/1 อยู่ในหมวดว่าด้วยการมาศาลของพยานและการซักถามพยาน ดูประกอบมาตรา 106 เป็นกรณีโจทก์จำเลยจะอ้างใครเป็นพยานในศาลแต่นำตัวมาเองไม่ได้ จึงขอให้ศาลออกหมายเรียกให้ ซึ่งมีข้อจำกัดอยู่ ดังนั้นกรณีที่อ้างที่ถูกคือห้ามหมายเรียกภิกษุมาเป็นพยานในศาล และศาลจะใช้คำบอกกล่าวแทน เมื่อมาศาลแล้วภิกษุมาจะไม่เบิกความก็ได้ แต่เป็นขั้นตอนการสืบพยานของศาล มีการฟ้องคดีแล้ว) แนะนำให้อ่านกฎหมายทั้งหมวดดูว่าเป็นเรื่องอะไรกันแน่
---
สรุป
ใช้เฉพาะหมายเรียกกรณีศาลเป็นผู้ออกหมายเรียกมาเป็นพยานในศาล และเป็นหมายเรียกมาเบิกความเป็นพยานต่อศาล กรณีที่มีการฟ้องคดีและสืบพยานแล้ว เป็นคนละขั้นตอน (แม้เป็นหลักคดีแพ่งที่เอามาใช้ในคดีอาญา แต่เป็นขั้นตอนหมายเรียกมาสืบพยานโดยศาล)
ไม่ใช้กับหมายเรียกของDSI ซึ่งเป็นชั้นสอบสวน เป็นคนละขั้นตอน กฎหมายคนละมาตราและคนละส่วนกัน
อำนาจพนง สอบสวนและ dsi ในการออกหมายในชั้นสอบสวนเรียกอยู่ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 133 และ 134 อยู่ในหมวดการสอบสวน ไม่มีข้อห้ามไว้
---
เพิ่มเติม: ขัดหมายเรียก ไม่ว่าจะของศาล ของพนักงานสอบสวน เป็นความผิดตามประมวกฎหมายอาญา มาตรา 168
อยากเป็นแรมโบ้^-^
7 ชั่วโมงที่แล้ว
พระธรรมกายโอกาสมาถึงท่านแล้ว ไปเป็นพยานเลย เอาให้ฝ่ายตรงข้ามแพ้หลักฐานหงายหลังไปเลย
ควรกระตือรือร้น กระเหี้ยนกระหือรือ หอบหิ้วหลักฐานไปแสดงความบริสุทธิ์ ถึงจะต้องลุยน้ำลุยไฟเพื่อช่วยหลวงพ่อ ก็ต้องยอมทำ
กะการไปเป็นพยานยืนยันความบริสุทธิ์ของหลวงพ่อตัวเองแท้ๆ กลับอิดเอื้อนไม่ยอมไป !!
ยกข้อกฏหมายมาอ้างว่า ห้ามให้พระไปเป็นพยาน อย่างดีอกดีใจ ทำอินโฟกราฟิกอย่างใหญ่ ราวกับว่า
"โอ เพราะกฏหมายข้อนี้ เรารอดแล้ว"
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ทั้งๆ ที่ควรจะถือกฏหมายข้อนี้ เป็นอุปสรรคต่อการไปแสดงความบริสุทธิ์เพื่อหลวงพ่อ มิใช่หรือ !!!
ท่านอยากช่วยหลวงพ่อใจจะขาดไม่ใช่เหรอ ไปสิครับ โอกาสมาถึงแล้ว
เป็นวิธีการที่ถูกต้อง โปร่งใส ง่ายๆ ดีกว่ามานั่งสมาธิปิดวัดอีกนะครับ
--------------------
เพิ่มเติม
อย่างไรก็ตาม กฏหมายข้อนี้ ว่าอย่างนี้นะครับ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 106/1(2) ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ระบุว่าห้ามมิให้ออกหมายเรียกพระภิกษุมาเป็นพยานไม่ว่ากรณีใดๆ (เป็นการบอกไม่หมด แม้หลักนี้เป็นหลักในคดีแพ่งที่เอามาใช้ในคดีอาญาด้วย แต่มาตรา 106/1 อยู่ในหมวดว่าด้วยการมาศาลของพยานและการซักถามพยาน ดูประกอบมาตรา 106 เป็นกรณีโจทก์จำเลยจะอ้างใครเป็นพยานในศาลแต่นำตัวมาเองไม่ได้ จึงขอให้ศาลออกหมายเรียกให้ ซึ่งมีข้อจำกัดอยู่ ดังนั้นกรณีที่อ้างที่ถูกคือห้ามหมายเรียกภิกษุมาเป็นพยานในศาล และศาลจะใช้คำบอกกล่าวแทน เมื่อมาศาลแล้วภิกษุมาจะไม่เบิกความก็ได้ แต่เป็นขั้นตอนการสืบพยานของศาล มีการฟ้องคดีแล้ว) แนะนำให้อ่านกฎหมายทั้งหมวดดูว่าเป็นเรื่องอะไรกันแน่
---
สรุป
ใช้เฉพาะหมายเรียกกรณีศาลเป็นผู้ออกหมายเรียกมาเป็นพยานในศาล และเป็นหมายเรียกมาเบิกความเป็นพยานต่อศาล กรณีที่มีการฟ้องคดีและสืบพยานแล้ว เป็นคนละขั้นตอน (แม้เป็นหลักคดีแพ่งที่เอามาใช้ในคดีอาญา แต่เป็นขั้นตอนหมายเรียกมาสืบพยานโดยศาล)
ไม่ใช้กับหมายเรียกของDSI ซึ่งเป็นชั้นสอบสวน เป็นคนละขั้นตอน กฎหมายคนละมาตราและคนละส่วนกัน
อำนาจพนง สอบสวนและ dsi ในการออกหมายในชั้นสอบสวนเรียกอยู่ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 133 และ 134 อยู่ในหมวดการสอบสวน ไม่มีข้อห้ามไว้
---
เพิ่มเติม: ขัดหมายเรียก ไม่ว่าจะของศาล ของพนักงานสอบสวน เป็นความผิดตามประมวกฎหมายอาญา มาตรา 168
อยากเป็นแรมโบ้^-^
7 ชั่วโมงที่แล้ว