แต่เมื่อบุคคล
ปรารถนาวิวัฏฏะอย่างนี้ว่า
ขอ ทานของเรานี้จงนำมาซึ่งความสิ้นอาสวะ ชื่อว่าตั้งไว้ชอบด้วยอำนาจวิวัฏฏะ
ย่อมสามารถให้ทั้งพระอรหัตทั้งปัจเจกโพธิฌานทีเดียว
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=20&i=42
อรรถกถา อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เอกธัมมาทิบาลี
ปณิหิตอัจฉวรรคที่ ๕
อรรถกถาปณิหิตอัจฉวรรค ๕
...
...
...
อรรถกถาสูตรที่ ๒
ในสูตรที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
...
กุศลมีจำนวนน้อยไม่ว่าจะเป็นการให้ใบไม้ประมาณกำมือหนึ่ง
หรือกุศลใหญ่ๆ เช่นการให้ของเวลามพราหมณ์เป็นต้นก็ตามเถิด
ถ้าปรารถนาวัฏฏสมบัติ จิตชื่อว่าตั้งไว้ผิดด้วยอำนาจอิงวัฏฏะ สามารถ
นำวัฏฏะเท่านั้นมาให้
หาสามารถนำวิวัฏฏะมาให้ไม่ฉันนั้นเหมือนกัน.
แต่
เมื่อบุคคลปรารถนาวิวัฏฏะอย่างนี้ว่า
ขอทานของเรานี้จงนำมาซึ่งความสิ้นอาสวะ ชื่อว่าตั้งไว้ชอบด้วยอำนาจวิวัฏฏะ
ย่อมสามารถให้ทั้งพระอรหัตทั้งปัจเจกโพธิฌานทีเดียว.
สมจริงดังคำที่ท่านกล่าวไว้ว่า
ปฏิสมฺภิทา วิโมกฺขา จ ยา จ สาวกปารมี
ปจฺเจกโพธิ พุทฺธภูมิ สพฺพเมเตน ลพฺภติ.
ปฏิสัมภิทา ๑ วิโมกข์ ๑ สาวกปารมี ๑ ปัจเจกโพธิ ๑
พุทธภูมิ ๑ ทั้งหมดนั้น
บุคคลย่อมได้ด้วยจิตที่ตั้งไว้ชอบนั้น.
ก็ในสูตรทั้งสองนี้ ท่านกล่าวทั้งวัฏฏะและวิวัฏฏะ.
จบอรรถกถาสูตรที่ ๒
...
...
...
...
...
----- เมื่อบุคคลปรารถนาวิวัฏฏะอย่างนี้ว่า ขอ ทานของเรานี้จงนำมาซึ่งความสิ้นอาสวะ ชื่อว่าตั้งไว้ชอบด้วยอำนาจวิวัฏฏะ
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=20&i=42
อรรถกถา อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เอกธัมมาทิบาลี
ปณิหิตอัจฉวรรคที่ ๕
อรรถกถาปณิหิตอัจฉวรรค ๕
...
...
...
อรรถกถาสูตรที่ ๒
ในสูตรที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
...
กุศลมีจำนวนน้อยไม่ว่าจะเป็นการให้ใบไม้ประมาณกำมือหนึ่ง หรือกุศลใหญ่ๆ เช่นการให้ของเวลามพราหมณ์เป็นต้นก็ตามเถิด ถ้าปรารถนาวัฏฏสมบัติ จิตชื่อว่าตั้งไว้ผิดด้วยอำนาจอิงวัฏฏะ สามารถนำวัฏฏะเท่านั้นมาให้ หาสามารถนำวิวัฏฏะมาให้ไม่ฉันนั้นเหมือนกัน.
แต่เมื่อบุคคลปรารถนาวิวัฏฏะอย่างนี้ว่า ขอทานของเรานี้จงนำมาซึ่งความสิ้นอาสวะ ชื่อว่าตั้งไว้ชอบด้วยอำนาจวิวัฏฏะ ย่อมสามารถให้ทั้งพระอรหัตทั้งปัจเจกโพธิฌานทีเดียว.
สมจริงดังคำที่ท่านกล่าวไว้ว่า
ปฏิสมฺภิทา วิโมกฺขา จ ยา จ สาวกปารมี
ปจฺเจกโพธิ พุทฺธภูมิ สพฺพเมเตน ลพฺภติ.
ปฏิสัมภิทา ๑ วิโมกข์ ๑ สาวกปารมี ๑ ปัจเจกโพธิ ๑
พุทธภูมิ ๑ ทั้งหมดนั้น บุคคลย่อมได้ด้วยจิตที่ตั้งไว้ชอบนั้น.
ก็ในสูตรทั้งสองนี้ ท่านกล่าวทั้งวัฏฏะและวิวัฏฏะ.
จบอรรถกถาสูตรที่ ๒
...
...
...
...
...