พุทธวจน
ท่านจงพิจารณาธรรมที่รู้ได้ยาก
ชนพาลทั้งหลายผู้ไม่รู้แจ้ง พากันลุ่มหลงอยู่ในโลกนี้ ความ
มืดตื้อย่อมมีแก่ชนพาลทั้งหลายผู้ถูกอวิชชาหุ้มห่อแล้ว ผู้ไม่
เห็นอยู่ ส่วนนิพพาน เป็นธรรมชาติเปิดเผยแก่สัตบุรุษ
ผู้เห็นอยู่ เหมือนอย่างแสงสว่าง
ใครหนอ ย่อมควรจะรู้บท คือ นิพพานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
ตรัสรู้ดีแล้ว พระอริยเจ้าทั้งหลายเป็นผู้ไม่มีอาสวะเพราะรู้โดยชอบ
ดูกรราธะ ! เพราะเหตุที่มี ความพอใจ ความกำหนัด
ความเพลิดเพลิน ความทะยานอยากในรูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณแล เป็นผู้ข้องในขันธิ์ เป็นผู้เกี่ยวข้องในขันธิ์นั้น ฉะนั้น
จึงเรียกว่า สัตว์
ดูกรกัจจานะ !
โลกนี้ โดยมากอาศัยส่วน
๒ อย่าง คือ ความมี ๑ ความไม่มี ๑. ก็เมื่อบุคคลเห็นเหตุเกิดแห่งโลก ด้วยปัญญาอันชอบตาม
เป็นจริงอยู่
ความไม่มีในโลกย่อมไม่มี. เมื่อบุคคลเห็นความดับแห่งโลก ด้วยปัญญาอันชอบตาม
ความเป็นจริงอยู่
ความมีในโลกย่อมไม่มี โลกนี้โดยมากยังพัวพันด้วยอุบายเป็นเหตุถือมั่นและ
ความยึดมั่น
แต่อริยสาวกย่อมไม่เข้าถึง ไม่ถือมั่น ไม่ตั้งไว้ ซึ่งอุบายเป็นเหตุถือมั่น มีความ
ยึดมั่นด้วยความตั้งจิตไว้เป็นอนุสัยว่า อัตตาของเรา ย่อมไม่เคลือบแคลงสงสัยว่า ทุกข์นั่นแหละ
เมื่อบังเกิดขึ้น ย่อมบังเกิดขึ้น ทุกข์เมื่อดับย่อมดับ
อริยสาวกนั้นมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้โดยไม่
ต้องเชื่อผู้อื่นเลย. ดูกรกัจจานะ ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล จึงชื่อว่าสัมมาทิฏฐิ. ดูกรกัจจานะ
ส่วนสุดที่ ๑ นี้ว่า สิ่งทั้งปวงมีอยู่ ส่วนสุดที่ ๒ นี้ว่า สิ่งทั้งปวงไม่มี. ตถาคตแสดงธรรมโดย
สายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุดทั้งสองนั้นว่า เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าจะพึงมีผู้ถามว่า จะมีประโยชน์อะไร เพื่อการฟังกุศลธรรม
อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกไป อันให้ถึงปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ แก่ท่าน
ทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงตอบเขาอย่างนี้ว่า
มีประโยชน์เพื่อรู้ธรรมเป็นธรรม ๒
อย่างตามความเป็นจริง ถ้าจะพึงมีผู้ถามว่า ท่านทั้งหลายกล่าวอะไรว่าเป็นธรรม ๒
อย่าง พึงตอบเขาอย่างนี้ว่า
การพิจารณาเห็นเนืองๆ ว่า
นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย
นี้ข้อที่ ๑
การพิจารณาเห็นเนืองๆ ว่า นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
นี้เป็นข้อที่ ๒
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุผู้พิจารณาเห็นธรรมเป็นธรรม ๒ อย่างโดย
ชอบเนืองๆ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ พึงหวัง
ผล ๒ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ อรหัตตผลในปัจจุบันนี้ หรือเมื่อยังมีความ
ถือมั่นเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี
รูป เสียง กลิ่น รส ผัสสะ และธรรมารมณ์ล้วนน่า-
ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีประมาณเท่าใด โลกกล่าว
ว่ามีอยู่ อารมณ์ ๖ อย่างเหล่านี้ โลกพร้อมทั้งเทวโลกสมมติ
กันว่าเป็นสุข แต่ว่าธรรมเป็นที่ดับอารมณ์ ๖ อย่างนี้ ชน-
เหล่านั้นสมมติกันว่าเป็นทุกข์ ความดับแห่งเบญจขันธ์
พระอริยะเจ้าทั้งหลายเห็นว่าเป็นสุข ความเห็นขัดแย้งกันกับ
โลกทั้งปวงนี้ ย่อมมีแก่บัณฑิตทั้งหลายผู้เห็นอยู่ ชนเหล่าอื่น
กล่าววัตถุกามใดโดยความเป็นสุข พระอริยเจ้าทั้งหลาย
กล่าววัตถุกามนั้นโดยความเป็นทุกข์ ชนเหล่าอื่นกล่าวนิพพาน
ใดโดยความเป็นทุกข์ พระอริยเจ้าทั้งหลายผู้รู้แจ้งกล่าว
นิพพานนั้นโดยความเป็นสุข ท่านจงพิจารณาธรรมที่รู้ได้ยาก
ชนพาลทั้งหลายผู้ไม่รู้แจ้ง พากันลุ่มหลงอยู่ในโลกนี้ ความ
มืดตื้อย่อมมีแก่ชนพาลทั้งหลายผู้ถูกอวิชชาหุ้มห่อแล้ว ผู้ไม่
เห็นอยู่ ส่วนนิพพาน เป็นธรรมชาติเปิดเผยแก่สัตบุรุษ
ผู้เห็นอยู่ เหมือนอย่างแสงสว่าง ฉะนั้น ชนทั้งหลายเป็นผู้
ค้นคว้า ไม่ฉลาดต่อธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานที่มีอยู่ในที่
ใกล้ ชนทั้งหลายผู้ถูกภวราคะครอบงำแล้ว แล่นไปตาม
กระแสภวตัณหา ผู้เข้าถึงวัฏฏะอันเป็นบ่วงแห่งมารเนืองๆ
ไม่ตรัสรู้ธรรมนี้ได้โดยง่าย นอกจากพระอริยเจ้าทั้งหลาย
ใครหนอย่อมควรจะรู้บท คือ นิพพานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
ตรัสรู้ดีแล้ว พระอริยเจ้าทั้งหลายเป็นผู้ไม่มีอาสวะเพราะรู้
โดยชอบ ย่อมปรินิพพาน ฯ
พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสไวยากรณ์ภาษิตนี้จบลงแล้ว ภิกษุ
เหล่านั้นมีใจชื่นชมยินดีภาษิตของพระผู้มีพระภาค ก็และเมื่อพระผู้มีพระภาค
ตรัสไวยากรณ์ภาษิตนี้อยู่ จิตของภิกษุประมาณ ๖๐ รูป หลุดพ้นแล้วจากอาสวะ
ทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น ดังนี้แล
พุทธวจน ! ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าจะพึงมีผู้ถามว่าจะมีประโยชน์อะไร เพื่อการฟังกุศลธรรม อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกไป
ชนพาลทั้งหลายผู้ไม่รู้แจ้ง พากันลุ่มหลงอยู่ในโลกนี้ ความ
มืดตื้อย่อมมีแก่ชนพาลทั้งหลายผู้ถูกอวิชชาหุ้มห่อแล้ว ผู้ไม่
เห็นอยู่ ส่วนนิพพาน เป็นธรรมชาติเปิดเผยแก่สัตบุรุษ
ผู้เห็นอยู่ เหมือนอย่างแสงสว่าง
ใครหนอ ย่อมควรจะรู้บท คือ นิพพานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
ตรัสรู้ดีแล้ว พระอริยเจ้าทั้งหลายเป็นผู้ไม่มีอาสวะเพราะรู้โดยชอบ
ดูกรราธะ ! เพราะเหตุที่มี ความพอใจ ความกำหนัด
ความเพลิดเพลิน ความทะยานอยากในรูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณแล เป็นผู้ข้องในขันธิ์ เป็นผู้เกี่ยวข้องในขันธิ์นั้น ฉะนั้น
จึงเรียกว่า สัตว์
ดูกรกัจจานะ !
โลกนี้ โดยมากอาศัยส่วน
๒ อย่าง คือ ความมี ๑ ความไม่มี ๑. ก็เมื่อบุคคลเห็นเหตุเกิดแห่งโลก ด้วยปัญญาอันชอบตาม
เป็นจริงอยู่
ความไม่มีในโลกย่อมไม่มี. เมื่อบุคคลเห็นความดับแห่งโลก ด้วยปัญญาอันชอบตาม
ความเป็นจริงอยู่
ความมีในโลกย่อมไม่มี โลกนี้โดยมากยังพัวพันด้วยอุบายเป็นเหตุถือมั่นและ
ความยึดมั่น
แต่อริยสาวกย่อมไม่เข้าถึง ไม่ถือมั่น ไม่ตั้งไว้ ซึ่งอุบายเป็นเหตุถือมั่น มีความ
ยึดมั่นด้วยความตั้งจิตไว้เป็นอนุสัยว่า อัตตาของเรา ย่อมไม่เคลือบแคลงสงสัยว่า ทุกข์นั่นแหละ
เมื่อบังเกิดขึ้น ย่อมบังเกิดขึ้น ทุกข์เมื่อดับย่อมดับ
อริยสาวกนั้นมีญาณหยั่งรู้ในเรื่องนี้โดยไม่
ต้องเชื่อผู้อื่นเลย. ดูกรกัจจานะ ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล จึงชื่อว่าสัมมาทิฏฐิ. ดูกรกัจจานะ
ส่วนสุดที่ ๑ นี้ว่า สิ่งทั้งปวงมีอยู่ ส่วนสุดที่ ๒ นี้ว่า สิ่งทั้งปวงไม่มี. ตถาคตแสดงธรรมโดย
สายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุดทั้งสองนั้นว่า เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าจะพึงมีผู้ถามว่า จะมีประโยชน์อะไร เพื่อการฟังกุศลธรรม
อันเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกไป อันให้ถึงปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ แก่ท่าน
ทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงตอบเขาอย่างนี้ว่า
มีประโยชน์เพื่อรู้ธรรมเป็นธรรม ๒
อย่างตามความเป็นจริง ถ้าจะพึงมีผู้ถามว่า ท่านทั้งหลายกล่าวอะไรว่าเป็นธรรม ๒
อย่าง พึงตอบเขาอย่างนี้ว่า
การพิจารณาเห็นเนืองๆ ว่า
นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย
นี้ข้อที่ ๑
การพิจารณาเห็นเนืองๆ ว่า นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
นี้เป็นข้อที่ ๒
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุผู้พิจารณาเห็นธรรมเป็นธรรม ๒ อย่างโดย
ชอบเนืองๆ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ พึงหวัง
ผล ๒ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ อรหัตตผลในปัจจุบันนี้ หรือเมื่อยังมีความ
ถือมั่นเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี
ดับทุกข์ไม่มีส่วนเหลือ โดยประการทั้งปวง และไม่รู้มรรค
อันให้ถึงความเข้าไประงับทุกข์ ชนเหล่านั้นเสื่อมแล้วจาก
เจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ เป็นผู้ไม่ควรเพื่อจะทำที่สุดแห่ง
ทุกข์ได้ เป็นผู้เข้าถึงชาติและชราแท้ ส่วนชนเหล่าใดรู้ทุกข์
เหตุเกิดแห่งทุกข์ ธรรมชาติเป็นที่ดับทุกข์ไม่มีส่วนเหลือ
โดยประการทั้งปวง และรู้มรรคอันให้ถึงความเข้าไประงับทุกข์
ชนเหล่านั้น ถึงพร้อมแล้วด้วยเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ เป็น
ผู้ควรที่จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ และเป็นผู้ไม่เข้าถึงชาติและ
ชรา ฯ
ครอบงำแล้ว ผู้แล่นไปตามกระแสแห่งภวตัณหา ผู้ดำเนิน
ไปแล้วสู่หนทางผิด ย่อมอยู่ห่างไกล ส่วนชนเหล่าใด
กำหนดรู้ผัสสะด้วยปัญญา ยินดีแล้วในธรรมเป็นที่เข้าไปสงบ
ชนแม้เหล่านั้น เป็นผู้หายหิวดับรอบแล้ว เพราะการดับไป
แห่งผัสสะ
กับอทุกขมสุขเวทนา ที่มีอยู่ทั้งภายในและภายนอกว่า
เวทนานี้เป็นเหตุแห่งทุกข์ มีความสาปสูญไปเป็นธรรมดา
มีความทรุดโทรมไปเป็นธรรมดา ถูกต้องด้วยอุทยัพพยญาณ
แล้ว เห็นความเสื่อมไปอยู่ ย่อมรู้แจ่มแจ้ง ความเป็นทุกข์
ในเวทนานั้นอย่างนี้ เพราะเวทนาทั้งหลายสิ้นไปนั้นเอง
ทุกข์จึงไม่เกิด
ทุกข์ ต้องตาย นี้เป็นเหตุเกิดแห่งทุกข์ เพราะเหตุนั้น
บัณฑิตทั้งหลายรู้แล้วโดยชอบ รู้ยิ่งความสิ้นไปแห่งชาติแล้ว
ย่อมไม่ไปสู่ภพใหม่ เพราะความสิ้นไปแห่งอุปาทาน
รูป เสียง กลิ่น รส ผัสสะ และธรรมารมณ์ล้วนน่า-
ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มีประมาณเท่าใด โลกกล่าว
ว่ามีอยู่ อารมณ์ ๖ อย่างเหล่านี้ โลกพร้อมทั้งเทวโลกสมมติ
กันว่าเป็นสุข แต่ว่าธรรมเป็นที่ดับอารมณ์ ๖ อย่างนี้ ชน-
เหล่านั้นสมมติกันว่าเป็นทุกข์ ความดับแห่งเบญจขันธ์
พระอริยะเจ้าทั้งหลายเห็นว่าเป็นสุข ความเห็นขัดแย้งกันกับ
โลกทั้งปวงนี้ ย่อมมีแก่บัณฑิตทั้งหลายผู้เห็นอยู่ ชนเหล่าอื่น
กล่าววัตถุกามใดโดยความเป็นสุข พระอริยเจ้าทั้งหลาย
กล่าววัตถุกามนั้นโดยความเป็นทุกข์ ชนเหล่าอื่นกล่าวนิพพาน
ใดโดยความเป็นทุกข์ พระอริยเจ้าทั้งหลายผู้รู้แจ้งกล่าว
นิพพานนั้นโดยความเป็นสุข ท่านจงพิจารณาธรรมที่รู้ได้ยาก
ชนพาลทั้งหลายผู้ไม่รู้แจ้ง พากันลุ่มหลงอยู่ในโลกนี้ ความ
มืดตื้อย่อมมีแก่ชนพาลทั้งหลายผู้ถูกอวิชชาหุ้มห่อแล้ว ผู้ไม่
เห็นอยู่ ส่วนนิพพาน เป็นธรรมชาติเปิดเผยแก่สัตบุรุษ
ผู้เห็นอยู่ เหมือนอย่างแสงสว่าง ฉะนั้น ชนทั้งหลายเป็นผู้
ค้นคว้า ไม่ฉลาดต่อธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานที่มีอยู่ในที่
ใกล้ ชนทั้งหลายผู้ถูกภวราคะครอบงำแล้ว แล่นไปตาม
กระแสภวตัณหา ผู้เข้าถึงวัฏฏะอันเป็นบ่วงแห่งมารเนืองๆ
ไม่ตรัสรู้ธรรมนี้ได้โดยง่าย นอกจากพระอริยเจ้าทั้งหลาย
ใครหนอย่อมควรจะรู้บท คือ นิพพานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
ตรัสรู้ดีแล้ว พระอริยเจ้าทั้งหลายเป็นผู้ไม่มีอาสวะเพราะรู้
โดยชอบ ย่อมปรินิพพาน ฯ
พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสไวยากรณ์ภาษิตนี้จบลงแล้ว ภิกษุ
เหล่านั้นมีใจชื่นชมยินดีภาษิตของพระผู้มีพระภาค ก็และเมื่อพระผู้มีพระภาค
ตรัสไวยากรณ์ภาษิตนี้อยู่ จิตของภิกษุประมาณ ๖๐ รูป หลุดพ้นแล้วจากอาสวะ
ทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น ดังนี้แล