หากจะให้ทวนเรื่องความเป็นมาของภาวะโลกร้อน เกรงว่า อาจต้องอธิบายกันยาวมาก และเกรงเป็นอย่างยิ่งว่าหลายท่าน อาจคิดว่าดิฉันพยายามชักจูงไม่ให้ใช้รถยนต์ เครื่องจักร งดทำโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ และหันมาปลูกผักกินเอง ผลิตเสื้อผ้าเอง เดินไปไหนต่อไหน ใช้ตะเกียงแทนหลอดไฟ สรุปต้องกลับชีวิตให้ไปอยู่ยุคดั่งเดิม คือ Normal ยุคแห่งความเรียบง่าย คงต้องเป็นทางเลือกของท่านผู้อ่านค่ะ ที่จะเลือกปฏิบัติ ว่าจะทำอย่างตอนที่เรายังมีเวลาแก้ไข หน้าที่ของดิฉันคือ สร้างความกระจ่างให้กับผู้บริโภคในเรื่องของภาวะโลกร้อน เมื่อ,,,! ไม่มีโลก ก็ไม่มีเรานะคะ
ตอนนี้เดือนเมษายน 2015 ปริมาณ CO2 อยู่ที่ 405 ppm และคงจะใช้เวลาไม่ถึงสิบปี ที่เราจะเพิ่ม CO2 ให้เลยผ่านจุด tipping point คือ อุณหภูมิปกติโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 6 องศาเซลเซียส เมื่อปริมาณ CO2 อยู่ที่ 1,000 ppm หากคาร์บอนไดอ๊อกไซค์มีมากในอากาศถึง 1000 ppm ต้องขอเขียนคำว่า !!!??? ตัวใครตัวมัน ???!!! เพราะหลังจากนั้นไม่มีใครคาดเดาได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นบ้าง
ข้อความจาก Kurt M. Cuffey ศาสตราจารย์วิชาภูมิศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย California ได้เขียนบทความลงใน The Sanfrancisco Chronicle ไว้ในปี 2005 ว่า
“ เมื่อเรามองดูกลไกที่ซับซ้อนของโลกเรา เราคงมองเห็นความเชื่อมโยงระหว่าง สภาวะอากาศกับธารน้ำแข็งกันได้บ้าง และหากเรามองลึกลงไปอีก คงจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ที่น่าอัศจรรย์อย่างที่เราคาดไม่ถึง กับสิ่งที่เรากำลังโต้แย้ง ว่าอะไรเป็นต้นเหตุหรือ การไม่ลงรอยกันระหว่างการทำงานของแต่ล่ะฝ่าย เราลืมมองความจริงที่ว่า เราเพิ่งประสพกับ เฮอริเคนแค็ทรีน่า (Katrina) ในนิวโอลีน ในอเมริกา ประจวบเหมาะกับการลดลงของธารน้ำแข็งใน Arctic ทำให้เรารู้ว่าทั้งสองมีความเกี่ยวโยงกันอย่างไม่ต้องสงสัย ”
กลไกการทำงานของโลก ได้มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านให้ชื่อ กลไกการเปลี่ยนของภาวะโลกร้อนในครั้งนี้ว่า เป็นจุดเปลี่ยนของโลกที่จะสร้างความเสียหายให้กับชาวโลกอย่างที่ไม่มีใครคาดเดาได้ ถึงแม้ว่าจะเป็นการเตือนภัย แต่เมื่อฟังเหตุจากนักวิทยาศาสตร์ว่า เมื่อมี Co2 มากๆในอากาส ผลคือ จะทำให้อากาศของโลกร้อนขึ้น และทำให้อากาศแปรปรวนอย่างคาดการณ์ไม่ได้
ถึงแม้จะมีนักเขียนหลายคนออกมา เขียนอธิบายถึงปรากฎการณ์ต่างๆ เพื่อเตือนให้ชาวโลกด้วยกันให้เข้าใจถึง โศกนาฏกรรมครั้งยิ่งใหญ่ที่จะเกิดขึ้นในอีกไม่กี่ทศวรรษ ,,,จะมีมนุษย์สักกี่คนที่ยึดติดกับข้อคิดของการ ไม่เพิ่ม CO2 ให้กับโลก พร้อมทั้งงดทิ้งขยะไปด้วย อย่างเอาจริงเอาจัง ,,,,,, จะมีอีกสักกี่คนที่ทำได้ ? เพื่อให้ เราจะไม่ไปถึงจุด Tipping point,, จุดที่จะส่งผลกระทบต่อสัตว์โลกอาจถึงขั้น สูญพันธ์ ( extinction )
จะรอถึงจุด tipping point ก่อนค่อยช่วยกันลด Co2 หรือจะมาช่วยกันลดตอนนี้เลย !!!!
ตอนนี้เดือนเมษายน 2015 ปริมาณ CO2 อยู่ที่ 405 ppm และคงจะใช้เวลาไม่ถึงสิบปี ที่เราจะเพิ่ม CO2 ให้เลยผ่านจุด tipping point คือ อุณหภูมิปกติโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 6 องศาเซลเซียส เมื่อปริมาณ CO2 อยู่ที่ 1,000 ppm หากคาร์บอนไดอ๊อกไซค์มีมากในอากาศถึง 1000 ppm ต้องขอเขียนคำว่า !!!??? ตัวใครตัวมัน ???!!! เพราะหลังจากนั้นไม่มีใครคาดเดาได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นบ้าง
ข้อความจาก Kurt M. Cuffey ศาสตราจารย์วิชาภูมิศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย California ได้เขียนบทความลงใน The Sanfrancisco Chronicle ไว้ในปี 2005 ว่า
“ เมื่อเรามองดูกลไกที่ซับซ้อนของโลกเรา เราคงมองเห็นความเชื่อมโยงระหว่าง สภาวะอากาศกับธารน้ำแข็งกันได้บ้าง และหากเรามองลึกลงไปอีก คงจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ที่น่าอัศจรรย์อย่างที่เราคาดไม่ถึง กับสิ่งที่เรากำลังโต้แย้ง ว่าอะไรเป็นต้นเหตุหรือ การไม่ลงรอยกันระหว่างการทำงานของแต่ล่ะฝ่าย เราลืมมองความจริงที่ว่า เราเพิ่งประสพกับ เฮอริเคนแค็ทรีน่า (Katrina) ในนิวโอลีน ในอเมริกา ประจวบเหมาะกับการลดลงของธารน้ำแข็งใน Arctic ทำให้เรารู้ว่าทั้งสองมีความเกี่ยวโยงกันอย่างไม่ต้องสงสัย ”
กลไกการทำงานของโลก ได้มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านให้ชื่อ กลไกการเปลี่ยนของภาวะโลกร้อนในครั้งนี้ว่า เป็นจุดเปลี่ยนของโลกที่จะสร้างความเสียหายให้กับชาวโลกอย่างที่ไม่มีใครคาดเดาได้ ถึงแม้ว่าจะเป็นการเตือนภัย แต่เมื่อฟังเหตุจากนักวิทยาศาสตร์ว่า เมื่อมี Co2 มากๆในอากาส ผลคือ จะทำให้อากาศของโลกร้อนขึ้น และทำให้อากาศแปรปรวนอย่างคาดการณ์ไม่ได้
ถึงแม้จะมีนักเขียนหลายคนออกมา เขียนอธิบายถึงปรากฎการณ์ต่างๆ เพื่อเตือนให้ชาวโลกด้วยกันให้เข้าใจถึง โศกนาฏกรรมครั้งยิ่งใหญ่ที่จะเกิดขึ้นในอีกไม่กี่ทศวรรษ ,,,จะมีมนุษย์สักกี่คนที่ยึดติดกับข้อคิดของการ ไม่เพิ่ม CO2 ให้กับโลก พร้อมทั้งงดทิ้งขยะไปด้วย อย่างเอาจริงเอาจัง ,,,,,, จะมีอีกสักกี่คนที่ทำได้ ? เพื่อให้ เราจะไม่ไปถึงจุด Tipping point,, จุดที่จะส่งผลกระทบต่อสัตว์โลกอาจถึงขั้น สูญพันธ์ ( extinction )