กรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ)
"นายธาริต เพ็งดิษฐ์" รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ แถลงข่าวว่า เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2551 ที่ผ่านมา
"นายธวัชชัย สวนสีดา" ผอ.ส่วนคดีภาษีอากร 2 สำนักคดีภาษีอากร ดีเอสไอ พร้อมเจ้าหน้าที่ส่วนสืบสวนและสะกดรอย ได้นำหมายศาลอาญาร่วมกันจับกุม
“นายเอกชัย มหาคุณ” กรรมการผู้จัดการ
บริษัท แคนนอน แปซิฟิค จำกัด
ผู้ถูกกล่าวหากระทำความผิด นำเข้าสุราไวน์จากต่างประเทศ โดยการสำแดงเท็จเพื่อหลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีศุลกากรเป็นเหตุให้ภาษีอากรขาดเป็นเงิน 312,214,873.73 บาท ตามมาตรา 27,29 แห่ง พ.ร.บ. ภาษีศุลกากร พ.ศ. 2469 โดยจับได้ที่ลานจอดรถตรงข้ามซอยบ่อปลา ในซอยลาดพร้าว 101 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กทม. หลังดีเอสไอรับไว้เป็นคดีพิเศษที่ 36/2549
นายเอกชัย ได้กล่าวอ้างขณะถูกจับกุมเมื่อวันที่ 12 พ.ค.ที่ผ่านมาว่า เป็นหลานชายของ "
นายวิชา มหาคุณ" กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) จากนั้นได้นำหลักทรัพย์ 1,000,000 บาท มายื่นประกันตัวและไม่ให้การในชั้นสอบสวน ต่อมา
นายเอกชัยก็ได้หลบหนีคดีไปอเมริกาและยังหนีคดีอยู่จนปัจจุบันนี้
✿✿✿✿✿
ส่วน
นายวิชา มหาคุณ เส้นทางชีวิตของนายวิชาต้องถือว่าไม่ธรรมดา เพราะเมื่อปี 2534 ได้เกิดกรณีที่เรียกว่า
"วิกฤตตุลาการ" ขึ้นมาตอนนั้นหัวหน้าคือ
นายอุดม เฟื่องฟุ้ง และเลขาธิการฝ่ายต่อต้านก็คือ
นายวิชา มหาคุณ นั่นเอง
ขณะนั้นรัฐบาล
นายอานันท์ ปันยารชุน มี
นายประภาศน์ อวยชัย เป็นรมว.ยุติธรรม ในช่วงที่มีการเฟ้นหาตัวประธานศาลฎีกาคนใหม่ ซึ่งตามคิวอาวุโสที่ 1 คือ
นายสวัสดิ์ โชติพานิช ขณะที่อาวุโสถัดไปคือ
นายประวิทย์ ขัมภรัตน์
แต่คณะกรรมการตุลาการ หรือ
กต. ชุดที่มี
นายโสภณ รัตนากร เป็นประธานเห็นว่าไม่ควรเป็น
นายสวัสดิ์ ก็ดึงเรื่องไว้จนกลายเป็นปัญหาขัดแย้งขึ้นมา
นายประภาสได้วอคเอาท์ทำให้ ก.ต. ฝ่ายที่เป็นเสียงข้างมากโหวตตั้ง
นายประวิทย์ แทนซึ่ง
นายประภาศน์ ก็ไม่ยอมจึงได้มีการประท้วงมีการจัดม็อบผู้พิพากษามากัน 500-600คน บอกรับไม่ได้ ระบุว่าให้ความนับถือ ก.ต. มากกว่ารัฐมนตรี
นายประภาศน์จึงได้ตั้งกรรมการสอบสวนเอาวินัยล็อตแรก 13 คน แล้วก็ลงโทษวินัยร้ายแรงให้ไล่ออกทุกคน รวมทั้ง
นายวิชา มหาคุณ ด้วยระหว่างนั้นก็มีโปรดเกล้าแต่งตั้ง
นายสวัสดิ์ เป็นประธานศาลฎีกา
นายวิชาและพวกที่โดนไล่ออกหมดได้ทำหนังสือทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานอภัยโทษ แต่ติดขัดในแง่กฎหมาย เพราะการพระราชทานอภัยโทษต้องเป็นกรณีคดีอาญาเท่านั้น ดังที่
นายเรืองไกรตรวจสอบพบว่า มีหลักฐานสำคัญที่ตรวจสอบแล้วพบว่า
นายวิชา มหาคุณ กรรมการ ป.ป.ช. เคยโดนลงโทษ ให้งดบำเหน็จความชอบติดตัว
ดังนั้นเรื่องดังกล่าวจึงเป็นสาเหตุที่แท้จริงที่เป็นความผิดพลาดของคณะ ปฏิวัติรัฐประหารปี 49 ใช่หรือไม่ ที่บังอาจคัดเลือกคนที่มีตำหนิและด่างพร้อยมาก่อนอย่าง
นายวิชาให้เข้ามารับ ตำแหน่ง
ป.ป.ช. จึงเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้
นายวิชาไม่สามารถได้รับโปรดเกล้าฯ ใช่หรือไม่
✿✿✿✿✿
กรณี “นายเอกชัย มหาคุณ” ไม่ใช่คดีการเมือง
ทำไม ปปช. ถึงไม่มีการขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนกลับคืนมา
หากไม่คิดทำอ ะไร จะเป็นการ "ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่" หรือเปล่า...
ป.ล. หากเห็นว่าพอมีประโยชน์ โปรดกด
+ นิด
✿ เห็นเรียกร้องเอาตัวผู้ร้ายข้ามแดน กรณีที่ไม่เกี่ยวกับการเมืองอย่าง “นายเอกชัย มหาคุณ” ทำไมไม่เรียกร้องให้ส่งตัวกลับ ✿
กรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) "นายธาริต เพ็งดิษฐ์" รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ แถลงข่าวว่า เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2551 ที่ผ่านมา "นายธวัชชัย สวนสีดา" ผอ.ส่วนคดีภาษีอากร 2 สำนักคดีภาษีอากร ดีเอสไอ พร้อมเจ้าหน้าที่ส่วนสืบสวนและสะกดรอย ได้นำหมายศาลอาญาร่วมกันจับกุม “นายเอกชัย มหาคุณ” กรรมการผู้จัดการ บริษัท แคนนอน แปซิฟิค จำกัด
ผู้ถูกกล่าวหากระทำความผิด นำเข้าสุราไวน์จากต่างประเทศ โดยการสำแดงเท็จเพื่อหลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีศุลกากรเป็นเหตุให้ภาษีอากรขาดเป็นเงิน 312,214,873.73 บาท ตามมาตรา 27,29 แห่ง พ.ร.บ. ภาษีศุลกากร พ.ศ. 2469 โดยจับได้ที่ลานจอดรถตรงข้ามซอยบ่อปลา ในซอยลาดพร้าว 101 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กทม. หลังดีเอสไอรับไว้เป็นคดีพิเศษที่ 36/2549
นายเอกชัย ได้กล่าวอ้างขณะถูกจับกุมเมื่อวันที่ 12 พ.ค.ที่ผ่านมาว่า เป็นหลานชายของ "นายวิชา มหาคุณ" กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) จากนั้นได้นำหลักทรัพย์ 1,000,000 บาท มายื่นประกันตัวและไม่ให้การในชั้นสอบสวน ต่อมา นายเอกชัยก็ได้หลบหนีคดีไปอเมริกาและยังหนีคดีอยู่จนปัจจุบันนี้
ส่วน นายวิชา มหาคุณ เส้นทางชีวิตของนายวิชาต้องถือว่าไม่ธรรมดา เพราะเมื่อปี 2534 ได้เกิดกรณีที่เรียกว่า "วิกฤตตุลาการ" ขึ้นมาตอนนั้นหัวหน้าคือ นายอุดม เฟื่องฟุ้ง และเลขาธิการฝ่ายต่อต้านก็คือ นายวิชา มหาคุณ นั่นเอง
ขณะนั้นรัฐบาล นายอานันท์ ปันยารชุน มี นายประภาศน์ อวยชัย เป็นรมว.ยุติธรรม ในช่วงที่มีการเฟ้นหาตัวประธานศาลฎีกาคนใหม่ ซึ่งตามคิวอาวุโสที่ 1 คือ นายสวัสดิ์ โชติพานิช ขณะที่อาวุโสถัดไปคือ นายประวิทย์ ขัมภรัตน์
แต่คณะกรรมการตุลาการ หรือ กต. ชุดที่มี นายโสภณ รัตนากร เป็นประธานเห็นว่าไม่ควรเป็น นายสวัสดิ์ ก็ดึงเรื่องไว้จนกลายเป็นปัญหาขัดแย้งขึ้นมา นายประภาสได้วอคเอาท์ทำให้ ก.ต. ฝ่ายที่เป็นเสียงข้างมากโหวตตั้ง นายประวิทย์ แทนซึ่ง นายประภาศน์ ก็ไม่ยอมจึงได้มีการประท้วงมีการจัดม็อบผู้พิพากษามากัน 500-600คน บอกรับไม่ได้ ระบุว่าให้ความนับถือ ก.ต. มากกว่ารัฐมนตรี
นายประภาศน์จึงได้ตั้งกรรมการสอบสวนเอาวินัยล็อตแรก 13 คน แล้วก็ลงโทษวินัยร้ายแรงให้ไล่ออกทุกคน รวมทั้ง นายวิชา มหาคุณ ด้วยระหว่างนั้นก็มีโปรดเกล้าแต่งตั้ง นายสวัสดิ์ เป็นประธานศาลฎีกา
นายวิชาและพวกที่โดนไล่ออกหมดได้ทำหนังสือทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานอภัยโทษ แต่ติดขัดในแง่กฎหมาย เพราะการพระราชทานอภัยโทษต้องเป็นกรณีคดีอาญาเท่านั้น ดังที่นายเรืองไกรตรวจสอบพบว่า มีหลักฐานสำคัญที่ตรวจสอบแล้วพบว่า นายวิชา มหาคุณ กรรมการ ป.ป.ช. เคยโดนลงโทษ ให้งดบำเหน็จความชอบติดตัว
ดังนั้นเรื่องดังกล่าวจึงเป็นสาเหตุที่แท้จริงที่เป็นความผิดพลาดของคณะ ปฏิวัติรัฐประหารปี 49 ใช่หรือไม่ ที่บังอาจคัดเลือกคนที่มีตำหนิและด่างพร้อยมาก่อนอย่างนายวิชาให้เข้ามารับ ตำแหน่ง ป.ป.ช. จึงเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้นายวิชาไม่สามารถได้รับโปรดเกล้าฯ ใช่หรือไม่
ทำไม ปปช. ถึงไม่มีการขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนกลับคืนมา
หากไม่คิดทำอ ะไร จะเป็นการ "ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่" หรือเปล่า...
ป.ล. หากเห็นว่าพอมีประโยชน์ โปรดกด + นิด