จาก ม.6 แห่งรฐน 57
ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา
ในกรณีนี้ สนช(บางส่วนเคลมเอาว่ามีอำนาจเช่นเดียวกับ สว) ย่อมจะมีอำนาจถอดถอนได้
อยากทราบว่า เอาม.6 รฐน57 ไปอ้างอิงเอากับ รฐน ฉบับใดในอดีต และจะยึดโยงกันได้หรือไม่
เนื่องจากอำนาจ สว ของประเทศไทยแต่เดิมมามีอำนาจแต่เพียงกลั่นกรองกฏหมายเท่านั้น ไม่ได้มีอำนาจแต่งตั้งองค์กรอิสระ หรือถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ ไม่มีเลยนะ เพราะที่มาของ สว ไม่ได้ยึดโยงกับเจ้าของอำนาจอธิปไตยเลย ล้วนมาจากการแต่งตั้งทั้งสิ้น
เริ่มจะมีก็เมื่อมี รฐน 40 ที่ได้ให้อำนาจแต่งตั้งองค์กรอิสระ หรือถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองแก่ สว อันมีมูลเหตมาจาก 1.สว มาจากประชาชน(เพราะประชาชนเป็นผู้เลือกเข้ามาทำงาน) 2.มีวุฒิที่สูงกว่า สส. ดังนั้นจึงต้องออกแบบอำนาจให้มีมากขึ้นกว่าเก่าก่อน หากให้มีอำนาจเพียงกลั่นกรองกฏหมายเช่นเดิม มันไม่สมเหตสมผล
แม้ใน รฐน 50 อย่างน้อยก็ยังมี สว ครึ่งหนึ่งที่ยังมาจากการเลือกตั้ง ส่วนอีกครึ่งแต่งตั้งมา(อิงแอบลอยหน้าใช้อำนาจแบบหน้าตาเฉย)
ซึ่ง สนช ชุดนี้ทั้งหมดก็ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน รฐน57 ก็ไม่ได้บัญญัติเอาไว้อย่างตายตัวว่าให้ปฏิบัติหน้าที่ของ สว ได้ตาม รฐน ฉบับใด ชอบด้วยที่ สนช จะยึดแบบ สว ตามแบบที่มาจากการแต่งตั้งจึงจะถูกต้องชอบธรรมกว่า ที่จะตีความเอาตาม ใจตนว่ามีอำนาจเทียบเท่า สว ที่มาจากการเลือกตั้ง น่าจะเป็นการตีความแบบศรีธนนชัย ซึ่งไร้เหตผล ไร้ความชองธรรม และยิ่งไม่ต้องพูดถึงความสง่างามเลย
อำนาจการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่ไม่มีใน สนช
ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา
ในกรณีนี้ สนช(บางส่วนเคลมเอาว่ามีอำนาจเช่นเดียวกับ สว) ย่อมจะมีอำนาจถอดถอนได้
อยากทราบว่า เอาม.6 รฐน57 ไปอ้างอิงเอากับ รฐน ฉบับใดในอดีต และจะยึดโยงกันได้หรือไม่
เนื่องจากอำนาจ สว ของประเทศไทยแต่เดิมมามีอำนาจแต่เพียงกลั่นกรองกฏหมายเท่านั้น ไม่ได้มีอำนาจแต่งตั้งองค์กรอิสระ หรือถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้ ไม่มีเลยนะ เพราะที่มาของ สว ไม่ได้ยึดโยงกับเจ้าของอำนาจอธิปไตยเลย ล้วนมาจากการแต่งตั้งทั้งสิ้น
เริ่มจะมีก็เมื่อมี รฐน 40 ที่ได้ให้อำนาจแต่งตั้งองค์กรอิสระ หรือถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองแก่ สว อันมีมูลเหตมาจาก 1.สว มาจากประชาชน(เพราะประชาชนเป็นผู้เลือกเข้ามาทำงาน) 2.มีวุฒิที่สูงกว่า สส. ดังนั้นจึงต้องออกแบบอำนาจให้มีมากขึ้นกว่าเก่าก่อน หากให้มีอำนาจเพียงกลั่นกรองกฏหมายเช่นเดิม มันไม่สมเหตสมผล
แม้ใน รฐน 50 อย่างน้อยก็ยังมี สว ครึ่งหนึ่งที่ยังมาจากการเลือกตั้ง ส่วนอีกครึ่งแต่งตั้งมา(อิงแอบลอยหน้าใช้อำนาจแบบหน้าตาเฉย)
ซึ่ง สนช ชุดนี้ทั้งหมดก็ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน รฐน57 ก็ไม่ได้บัญญัติเอาไว้อย่างตายตัวว่าให้ปฏิบัติหน้าที่ของ สว ได้ตาม รฐน ฉบับใด ชอบด้วยที่ สนช จะยึดแบบ สว ตามแบบที่มาจากการแต่งตั้งจึงจะถูกต้องชอบธรรมกว่า ที่จะตีความเอาตาม ใจตนว่ามีอำนาจเทียบเท่า สว ที่มาจากการเลือกตั้ง น่าจะเป็นการตีความแบบศรีธนนชัย ซึ่งไร้เหตผล ไร้ความชองธรรม และยิ่งไม่ต้องพูดถึงความสง่างามเลย