ผมเห็นว่า อุปนิสัย ของพุทธศาสนิกชนชาวไทย นับวันก็ยิ่งตกต่ำ ลงไปทุกทีๆ จนน่าใจหาย
ตัวอย่างเช่น ชาวพุทธชายขอบผู้หนึ่ง เมื่อเห็นผู้คนเขาวิพากษ์วิจารณ์กันในเรื่อง เดียรถีย์
ก็ "อยาก" จะแสดงความเห็นโง่ๆ ของตน ด้วยอาการ "ปากไสว" เพื่อหาบาปกรรมใส่ตัว ในทำนองว่า ......
(๑) ปาราชิก ไม่ได้มีเพียง ๔ ข้อ แต่มีเพิ่มขึ้นอีก ๑ คือ การปรามาสพระพุทธเจ้า
(๒) พระสงฆ์รูปใด ด่าพระพุทธเจ้า ปรามาสพระพุทธเจ้า จะขาดจากความเป็นพระทันที
มาพิจารณา ประเด็นแรก ก่อนนะครับ พระพุทธเจ้าตรัสว่า ...........
คนที่แสดงสิ่งที่ ตถาคต มิได้ภาษิตไว้ มิได้ตรัสไว้
ว่า ตถาคตได้ภาษิตไว้ ได้ตรัสไว้ ฯ .......... คนจำพวกนี้ ย่อมกล่าวตู่ตถาคต !
จากหลักฐานทั้งหมดนี้ มีความหมายว่าอย่างไร น่ะหรือ ?
มันก็หมายความว่า ชาวพุทธชายขอบผู้นั้น กำลังกล่าวตู่พระพุทธเจ้า
ด้วยการ บัญญัติสิกขาบท ขึ้นเองตามใจชอบ โดยไม่เห็นพระศาสดาอยู่ในสายตา น่ะสิ
ชาวพุทธ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในฝ่ายเถรวาท เขาไม่มีความประพฤติ ทุเรศๆ แบบนี้ กันหรอกครับ
ที่น่าสมเพชยิ่งขึ้นไปอีก ก็คือ มันยังอุตส่าห์ ลงท้ายข้อความด้วย ถ้อยคำ
ที่แสดงให้เห็นถึง ความยโสโอหังอย่างโง่ๆ ความว่า .......
"ถ้าใครไม่เคยรู้มาก่อน ก็รู้ไว้นะครับ"
ขออนุญาตกล่าวตามตรงว่า ผมมิอาจปลงใจยอมรับได้ว่า ข้อความอุบาทว์ของมันผู้นี้
สมควรกล่าวว่าเป็นสิ่งที่เรียกว่า "ความรู้" ได้เลย แม้แต่สักคำเดียว
ผมย่อมไม่อยากรู้(ข้อความลามกนั่น) และยังเห็นว่า ชาวพุทธเถรวาททั้งหลาย
ก็ไม่ควรจะต้องมารับรู้ ถ้อยคำลามกดังกล่าว นั้นด้วยเช่นกัน !
ชัดเจน นะครับ
***************************************************************
ประเด็นที่ ๒
พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า เมื่อใดก็ตาม ที่มีคนมาด่าว่า หรือ ตำหนิติเตียน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ .......
(๑) เธอทั้งหลาย ไม่ควรอาฆาต ไม่ควรโทมนัสน้อยใจ ไม่ควรแค้นใจ คนเหล่านั้น
(๒) ถ้ามัวแต่ ขุ่นเคือง โทมนัส น้อยใจ ก็จะไม่ทราบว่า เขาพูดผิดหรือถูก อย่างไร
(๓) สิ่งที่ควรทำ ก็คือ คำที่ไม่จริง ก็ควรแก้ไข ให้เห็นโดยความไม่จริงว่า ...... นั่นไม่จริง ฯลฯ
คำถาม ก็คือ ในฐานะที่เป็นชาวพุทธเถรวาท ท่านทั้งหลายได้ทำตามคำสอนของพระศาสดาแล้วหรือยัง ?
***************************************************************
ประเด็นที่ ๓
เมื่อพิจารณาจากหลักฐาน ซึ่งเป็นคำของท่านพุทธทาสเอง ปรากฏข้อเท็จจริง ดังนี้ว่า
จากหลักฐานทั้งหมด ย่อมบ่งชี้ให้เห็นว่า ท่านพุทธทาส มิได้มีความมุ่งหมายที่จะ ด่าว่า
หรือ ปรามาส พระพุทธเจ้าแต่อย่างใดเลย ข้อความเหล่านั้น เป็นแค่เพียง การอธิบาย
ความหมายที่แท้จริงของคำว่า "เดียรถีย์" ที่ใช้กันอยู่ในสมัยพุทธกาล เท่านั้นเอง
ซึ่งเมื่อกล่าวสำหรับ พุทธศาสนิกชน ที่มิได้มี อคติ ใดๆ กับท่านพุทธทาส ก็ย่อมเล็งเห็นได้ไม่ยากว่า
มิได้มีเหตุอันสมควรใดๆ เลยที่จะไปตำหนิติเตียน ท่านพุทธทาส ในประเด็นนี้ นอกจากการกล่าว อนุโมทนาสาธุ !
หรือมิใช่ ?
***************************************************************
ประเด็นที่ ๔
แต่หากแม้ว่า ชาวพุทธชายขอบผู้นั้น จะยังคงเชื่อมั่นในความคิดเห็นของตนอย่างเหนียวแน่นแล้วไซร้
มันก็อาจมีประเด็นปัญหา ที่มันผู้นั้น จักต้องแสดงความกระจ่าง อยู่มากพอสมควร กล่าวคือ .......
(๑) ถ้าหากจะยังคงยืนยันว่า ผู้ใดก็ตามที่เรียกพระพุทธเจ้าว่าเดียรถีย์ ผู้นั้นย่อมได้ชื่อว่า กล่าวปรามาสพระพุทธเจ้า
และ หากผู้นั้นเป็นภิกษุ จักต้องปาราชิก ขาดจากความเป็นภิกษุโดยพฤตินัย ทุกกรณีไป ไม่มีข้อยกเว้น
(๒) แต่จากหลักฐานทางพระคัมภีร์ ปรากฏว่า พระพุทธโฆษาจารย์ ก็เคยเรียก พระพุทธเจ้าว่า เดียรถีย์
ในความหมายว่า เจ้าสำนัก หรือ ครู หรือ ศาสดา เช่นกัน คำถาม ก็คือ ชาวพุทธชายขอบผู้นั้น ยังจะเห็นว่า
พระพุทธโฆษาจารย์ กล่าวปรามาสพระพุทธเจ้า หรือไม่ ?
และ มันจะกล้ายืนยัน "ความเห็น" ของตน หรือไม่ว่า พระพุทธโฆษาจารย์ ได้ขาดจากความเป็นภิกษุไปแล้ว
โดยอ้างความจาก สิกขาบท ที่มันเป็นผู้บัญญัติขึ้นมาใหม่(สัทธรรมปฏิรูป) ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น นั่นแหละ
ท่านทั้งหลาย เห็นว่า
มันจะกล้ายืนยัน ความคิด และ คำพูด ของตนเองไหมครับ ?
(๓) ยังปรากฏหลักฐานในพระไตรปิฎกอีกด้วยว่า พระอรหันตเถระ องค์หนึ่ง ได้กล่าวคาถา
โดยระบุถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นเดียรถีย์ ของท่าน ซึ่งหมายถึง พระศาสดา ผู้เป็นเจ้าของคำสอนอันประเสริฐ
คำถาม ก็คือ มันผู้นั้น กล้ายืนยันหรือไม่ว่า พระอรหันต์องค์นี้ ได้ขาดจากความเป็นภิกษุไปแล้วโดยอัตตโนมัติ
โดยอ้างความจาก สิกขาบท ที่มันเป็นผู้บัญญัติขึ้นมาใหม่(สัทธรรมปฏิรูป) ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น
กล้า ไหมครับ ?
***************************************************************
บทสรุป
(๑) สิ่งที่ ท่านทั้งหลายพึง สังเกต เกี่ยวกับเรื่องนี้ ก็คือ ในสมัยพุทธกาล คำว่า เดียรถีย์ เป็นคำกลางๆ มีความหมายว่า ท่า
ซึ่งเมื่อใช้ในแวดวงศาสนา มันจะหมายถึง ลัทธิ คำสอน สำนักคิด รวมไปถึง ครู หรือ ศาสดา ผู้เป็นเจ้าของคำสอนนั้นๆ ด้วย
เวลาที่พระพุทธเจ้าจะตรัสถึง ลัทธิอื่น ก็จะตรัสเรียกว่า อัญญเดียรถีย์(เดียรถีย์อื่น) แต่เมื่อจะเรียก ลัทธิ หรือ คำสอนของพระองค์เอง
มักตรัสเรียกว่า พรหมจรรย์(คำสอน) มีอยู่บ้างที่ตรัสเรียกว่า เดียรถีย์(ไม่มีคำว่า อัญญะ)
แต่ในชั้นอรรถกถา คำว่า เดียรถีย์ มักมีความหมายอย่างเดียวกับคำว่า อัญญเดียรถีย์ (ลัทธิ = ลัทธิอื่น ?)
มิหนำซ้ำ ยังมีการให้ความหมายที่ "แคบ" ลงไปอีกด้วยว่า หมายถึงพวกที่เป็น มิจฉาทิฐิ เท่านั้น
และเมื่อพระพุทธศาสนา ลัทธิลังกาวงศ์ เผยแผ่มาถึงประเทศไทย เมื่อราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๖ หรือ ๑๗ โดยประมาณ
ปรากฏว่า ชาวพุทธไทย ก็ได้รับเอาแต่ความหมายในชั้นอรรถกถามาใช้โดยมิได้มีการสอบสวน ไปถึงความหมายดั้งเดิม
ที่ใช้กันอยู่ในสมัยพุทธกาล จากพระบาลีไตรปิฎกกันเลย จวบจนถึงสมัย ที่ท่านพุทธทาส ได้ชักชวนให้ชาวพุทธ เข้าเฝ้าพระศาสดา
ดังนั้น คำว่า เดียรถีย์ ในความรับรู้ของชาวพุทธไทย ที่ตกอยู่ภายใต้ การครอบงำทางปัญญาโดย
คันภีร์ชั้นอรรถกถา จึงมีความหมายอย่างคับแคบเป็นอย่างยิ่งว่าหมายถึง ลัทธิอื่นที่เป็น มิจฉาทิฐิ(เท่านั้น) !
.
.
.
(๒) และด้วย วิวัฒนาการทางความหมายของคำศัพท์นี้เอง จึงมิใช่เรื่องยากเลย ที่ชาวพุทธผู้ใคร่ในการศึกษาด้วยปัญญา
ย่อมสามารถพิจารณาได้ด้วยตนเองว่า ข้อความใดในพระบาลีไตรปิฎก เป็นพุทธพจน์ จากพระโอษฐ์ของแท้
หรือ เป็นคำสาวกชั้นหลัง ปลอมปนเข้ามา ตัวอย่างเช่น หากพบว่ามีการใช้คำว่า เดียรถีย์ ในความหมายกลางๆ
ก็เชื่อได้ว่า นั่นเป็นพระพุทธดำรัสดั้งเดิมจริงๆ แต่หากพบว่าใช้ในความหมายเฉพาะเจาะจงว่าหมายถึง
ลัทธิอื่นที่เป็นมิจฉาทิฐิ ก็พึงตั้งข้อสงสัยได้ว่า คำนี้ๆ ในข้อความนี้ๆ อาจเป็นของใหม่ในสมัยอรรถกถา
ที่ถูกยกขึ้นสู่พระบาลีในภายหลัง ........
ที่กล่าวมานี้ เป็นความเห็นของผม นะครับ ท่านทั้งหลาย ไม่จำเป็นต้องเชื่อตาม
.
.
.
(๓) ความน่าสมเพช ของชาวพุทธชายขอบในประเทศไทย ก็คือ คนเหล่านี้ ไม่มีความรู้ความเข้าใจในศาสนาของตนเองเพียงพอ
แต่กลับมีความ "เลอะหลง" คิดว่าตนมี ภูมิรู้ภูมิธรรม สูงส่ง เสียจนถึงขั้น สามารถวิพากษ์วิจารณ์พระสงฆ์องค์เจ้า ได้ตามใจชอบ
ดังเช่นในกรณีนี้ ซึ่งถ้าหาก ชาวพุทธชายขอบผู้นั้น ไม่มี อคติ บังตา หรือ เป็นผู้ที่มีความเข้าใจในพระพุทธศาสนาดีพอ
ย่อมเป็นไปไม่ได้เลย ที่จะออกมากล่าวข้อความโง่ๆ แบบนั้น โดยหากมีสติยั้งคิด แล้วทำการสอบสวนข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบ
ย่อมไม่เป็นการยากเลย ที่จะทราบว่า ท่านพุทธทาส มิได้กล่าวอะไรผิดไป แต่เพราะความโง่เขลาเบาปัญญาของมันโดยแท้
จึงได้เกิด กรณี กล่าวร้ายพระ ติเตียนพระ ด้วยเหตุผลโง่ๆ และ ปราศจาก หลักฐานรองรับ อย่างที่เห็นกันอยู่ในบัดนี้
ถามว่า หากไม่มีการเอาจริงเอาจัง ในการแสดงข้อเท็จจริง ซึ่งเป็นความจริงแท้ๆ
ที่มิได้เป็นเพียงแค่ การคิดเองเออเอง ด้วย ตัณหา และ ทิฐิ ของชาวพุทธชายขอบเหล่านั้น
จะมี ชาวพุทธ ผู้เริ่มศึกษา ผู้เข้ามาใหม่ ที่หลงผิด หรือ เข้าใจผิด แล้วไปก่อบาปก่อกรรม
พากันลงเหว ด้วยการกล่าวปรามาส ติเตียน ท่านพุทธทาส ผู้หาความผิดมิได้ กันอีกสักกี่ราย ?
ช่างน่าสมเพชโดยแท้
สวัสดี
ปาราชิก ข้อที่ ๕ (สัทธรรมปฏิรูป ของ คนปากไสว)
ตัวอย่างเช่น ชาวพุทธชายขอบผู้หนึ่ง เมื่อเห็นผู้คนเขาวิพากษ์วิจารณ์กันในเรื่อง เดียรถีย์
ก็ "อยาก" จะแสดงความเห็นโง่ๆ ของตน ด้วยอาการ "ปากไสว" เพื่อหาบาปกรรมใส่ตัว ในทำนองว่า ......
(๑) ปาราชิก ไม่ได้มีเพียง ๔ ข้อ แต่มีเพิ่มขึ้นอีก ๑ คือ การปรามาสพระพุทธเจ้า
(๒) พระสงฆ์รูปใด ด่าพระพุทธเจ้า ปรามาสพระพุทธเจ้า จะขาดจากความเป็นพระทันที
มาพิจารณา ประเด็นแรก ก่อนนะครับ พระพุทธเจ้าตรัสว่า ...........
คนที่แสดงสิ่งที่ ตถาคต มิได้ภาษิตไว้ มิได้ตรัสไว้
ว่า ตถาคตได้ภาษิตไว้ ได้ตรัสไว้ ฯ .......... คนจำพวกนี้ ย่อมกล่าวตู่ตถาคต !
จากหลักฐานทั้งหมดนี้ มีความหมายว่าอย่างไร น่ะหรือ ?
มันก็หมายความว่า ชาวพุทธชายขอบผู้นั้น กำลังกล่าวตู่พระพุทธเจ้า
ด้วยการ บัญญัติสิกขาบท ขึ้นเองตามใจชอบ โดยไม่เห็นพระศาสดาอยู่ในสายตา น่ะสิ
ชาวพุทธ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในฝ่ายเถรวาท เขาไม่มีความประพฤติ ทุเรศๆ แบบนี้ กันหรอกครับ
ที่น่าสมเพชยิ่งขึ้นไปอีก ก็คือ มันยังอุตส่าห์ ลงท้ายข้อความด้วย ถ้อยคำ
ที่แสดงให้เห็นถึง ความยโสโอหังอย่างโง่ๆ ความว่า .......
"ถ้าใครไม่เคยรู้มาก่อน ก็รู้ไว้นะครับ"
ขออนุญาตกล่าวตามตรงว่า ผมมิอาจปลงใจยอมรับได้ว่า ข้อความอุบาทว์ของมันผู้นี้
สมควรกล่าวว่าเป็นสิ่งที่เรียกว่า "ความรู้" ได้เลย แม้แต่สักคำเดียว
ผมย่อมไม่อยากรู้(ข้อความลามกนั่น) และยังเห็นว่า ชาวพุทธเถรวาททั้งหลาย
ก็ไม่ควรจะต้องมารับรู้ ถ้อยคำลามกดังกล่าว นั้นด้วยเช่นกัน !
ชัดเจน นะครับ
***************************************************************
ประเด็นที่ ๒
พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า เมื่อใดก็ตาม ที่มีคนมาด่าว่า หรือ ตำหนิติเตียน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ .......
(๑) เธอทั้งหลาย ไม่ควรอาฆาต ไม่ควรโทมนัสน้อยใจ ไม่ควรแค้นใจ คนเหล่านั้น
(๒) ถ้ามัวแต่ ขุ่นเคือง โทมนัส น้อยใจ ก็จะไม่ทราบว่า เขาพูดผิดหรือถูก อย่างไร
(๓) สิ่งที่ควรทำ ก็คือ คำที่ไม่จริง ก็ควรแก้ไข ให้เห็นโดยความไม่จริงว่า ...... นั่นไม่จริง ฯลฯ
คำถาม ก็คือ ในฐานะที่เป็นชาวพุทธเถรวาท ท่านทั้งหลายได้ทำตามคำสอนของพระศาสดาแล้วหรือยัง ?
***************************************************************
ประเด็นที่ ๓
เมื่อพิจารณาจากหลักฐาน ซึ่งเป็นคำของท่านพุทธทาสเอง ปรากฏข้อเท็จจริง ดังนี้ว่า
จากหลักฐานทั้งหมด ย่อมบ่งชี้ให้เห็นว่า ท่านพุทธทาส มิได้มีความมุ่งหมายที่จะ ด่าว่า
หรือ ปรามาส พระพุทธเจ้าแต่อย่างใดเลย ข้อความเหล่านั้น เป็นแค่เพียง การอธิบาย
ความหมายที่แท้จริงของคำว่า "เดียรถีย์" ที่ใช้กันอยู่ในสมัยพุทธกาล เท่านั้นเอง
ซึ่งเมื่อกล่าวสำหรับ พุทธศาสนิกชน ที่มิได้มี อคติ ใดๆ กับท่านพุทธทาส ก็ย่อมเล็งเห็นได้ไม่ยากว่า
มิได้มีเหตุอันสมควรใดๆ เลยที่จะไปตำหนิติเตียน ท่านพุทธทาส ในประเด็นนี้ นอกจากการกล่าว อนุโมทนาสาธุ !
หรือมิใช่ ?
***************************************************************
ประเด็นที่ ๔
แต่หากแม้ว่า ชาวพุทธชายขอบผู้นั้น จะยังคงเชื่อมั่นในความคิดเห็นของตนอย่างเหนียวแน่นแล้วไซร้
มันก็อาจมีประเด็นปัญหา ที่มันผู้นั้น จักต้องแสดงความกระจ่าง อยู่มากพอสมควร กล่าวคือ .......
(๑) ถ้าหากจะยังคงยืนยันว่า ผู้ใดก็ตามที่เรียกพระพุทธเจ้าว่าเดียรถีย์ ผู้นั้นย่อมได้ชื่อว่า กล่าวปรามาสพระพุทธเจ้า
และ หากผู้นั้นเป็นภิกษุ จักต้องปาราชิก ขาดจากความเป็นภิกษุโดยพฤตินัย ทุกกรณีไป ไม่มีข้อยกเว้น
(๒) แต่จากหลักฐานทางพระคัมภีร์ ปรากฏว่า พระพุทธโฆษาจารย์ ก็เคยเรียก พระพุทธเจ้าว่า เดียรถีย์
ในความหมายว่า เจ้าสำนัก หรือ ครู หรือ ศาสดา เช่นกัน คำถาม ก็คือ ชาวพุทธชายขอบผู้นั้น ยังจะเห็นว่า
พระพุทธโฆษาจารย์ กล่าวปรามาสพระพุทธเจ้า หรือไม่ ?
และ มันจะกล้ายืนยัน "ความเห็น" ของตน หรือไม่ว่า พระพุทธโฆษาจารย์ ได้ขาดจากความเป็นภิกษุไปแล้ว
โดยอ้างความจาก สิกขาบท ที่มันเป็นผู้บัญญัติขึ้นมาใหม่(สัทธรรมปฏิรูป) ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น นั่นแหละ
ท่านทั้งหลาย เห็นว่า
มันจะกล้ายืนยัน ความคิด และ คำพูด ของตนเองไหมครับ ?
(๓) ยังปรากฏหลักฐานในพระไตรปิฎกอีกด้วยว่า พระอรหันตเถระ องค์หนึ่ง ได้กล่าวคาถา
โดยระบุถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นเดียรถีย์ ของท่าน ซึ่งหมายถึง พระศาสดา ผู้เป็นเจ้าของคำสอนอันประเสริฐ
คำถาม ก็คือ มันผู้นั้น กล้ายืนยันหรือไม่ว่า พระอรหันต์องค์นี้ ได้ขาดจากความเป็นภิกษุไปแล้วโดยอัตตโนมัติ
โดยอ้างความจาก สิกขาบท ที่มันเป็นผู้บัญญัติขึ้นมาใหม่(สัทธรรมปฏิรูป) ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น
กล้า ไหมครับ ?
***************************************************************
บทสรุป
(๑) สิ่งที่ ท่านทั้งหลายพึง สังเกต เกี่ยวกับเรื่องนี้ ก็คือ ในสมัยพุทธกาล คำว่า เดียรถีย์ เป็นคำกลางๆ มีความหมายว่า ท่า
ซึ่งเมื่อใช้ในแวดวงศาสนา มันจะหมายถึง ลัทธิ คำสอน สำนักคิด รวมไปถึง ครู หรือ ศาสดา ผู้เป็นเจ้าของคำสอนนั้นๆ ด้วย
เวลาที่พระพุทธเจ้าจะตรัสถึง ลัทธิอื่น ก็จะตรัสเรียกว่า อัญญเดียรถีย์(เดียรถีย์อื่น) แต่เมื่อจะเรียก ลัทธิ หรือ คำสอนของพระองค์เอง
มักตรัสเรียกว่า พรหมจรรย์(คำสอน) มีอยู่บ้างที่ตรัสเรียกว่า เดียรถีย์(ไม่มีคำว่า อัญญะ)
แต่ในชั้นอรรถกถา คำว่า เดียรถีย์ มักมีความหมายอย่างเดียวกับคำว่า อัญญเดียรถีย์ (ลัทธิ = ลัทธิอื่น ?)
มิหนำซ้ำ ยังมีการให้ความหมายที่ "แคบ" ลงไปอีกด้วยว่า หมายถึงพวกที่เป็น มิจฉาทิฐิ เท่านั้น
และเมื่อพระพุทธศาสนา ลัทธิลังกาวงศ์ เผยแผ่มาถึงประเทศไทย เมื่อราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๖ หรือ ๑๗ โดยประมาณ
ปรากฏว่า ชาวพุทธไทย ก็ได้รับเอาแต่ความหมายในชั้นอรรถกถามาใช้โดยมิได้มีการสอบสวน ไปถึงความหมายดั้งเดิม
ที่ใช้กันอยู่ในสมัยพุทธกาล จากพระบาลีไตรปิฎกกันเลย จวบจนถึงสมัย ที่ท่านพุทธทาส ได้ชักชวนให้ชาวพุทธ เข้าเฝ้าพระศาสดา
ดังนั้น คำว่า เดียรถีย์ ในความรับรู้ของชาวพุทธไทย ที่ตกอยู่ภายใต้ การครอบงำทางปัญญาโดย
คันภีร์ชั้นอรรถกถา จึงมีความหมายอย่างคับแคบเป็นอย่างยิ่งว่าหมายถึง ลัทธิอื่นที่เป็น มิจฉาทิฐิ(เท่านั้น) !
.
.
.
(๒) และด้วย วิวัฒนาการทางความหมายของคำศัพท์นี้เอง จึงมิใช่เรื่องยากเลย ที่ชาวพุทธผู้ใคร่ในการศึกษาด้วยปัญญา
ย่อมสามารถพิจารณาได้ด้วยตนเองว่า ข้อความใดในพระบาลีไตรปิฎก เป็นพุทธพจน์ จากพระโอษฐ์ของแท้
หรือ เป็นคำสาวกชั้นหลัง ปลอมปนเข้ามา ตัวอย่างเช่น หากพบว่ามีการใช้คำว่า เดียรถีย์ ในความหมายกลางๆ
ก็เชื่อได้ว่า นั่นเป็นพระพุทธดำรัสดั้งเดิมจริงๆ แต่หากพบว่าใช้ในความหมายเฉพาะเจาะจงว่าหมายถึง
ลัทธิอื่นที่เป็นมิจฉาทิฐิ ก็พึงตั้งข้อสงสัยได้ว่า คำนี้ๆ ในข้อความนี้ๆ อาจเป็นของใหม่ในสมัยอรรถกถา
ที่ถูกยกขึ้นสู่พระบาลีในภายหลัง ........
ที่กล่าวมานี้ เป็นความเห็นของผม นะครับ ท่านทั้งหลาย ไม่จำเป็นต้องเชื่อตาม
.
.
.
(๓) ความน่าสมเพช ของชาวพุทธชายขอบในประเทศไทย ก็คือ คนเหล่านี้ ไม่มีความรู้ความเข้าใจในศาสนาของตนเองเพียงพอ
แต่กลับมีความ "เลอะหลง" คิดว่าตนมี ภูมิรู้ภูมิธรรม สูงส่ง เสียจนถึงขั้น สามารถวิพากษ์วิจารณ์พระสงฆ์องค์เจ้า ได้ตามใจชอบ
ดังเช่นในกรณีนี้ ซึ่งถ้าหาก ชาวพุทธชายขอบผู้นั้น ไม่มี อคติ บังตา หรือ เป็นผู้ที่มีความเข้าใจในพระพุทธศาสนาดีพอ
ย่อมเป็นไปไม่ได้เลย ที่จะออกมากล่าวข้อความโง่ๆ แบบนั้น โดยหากมีสติยั้งคิด แล้วทำการสอบสวนข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบ
ย่อมไม่เป็นการยากเลย ที่จะทราบว่า ท่านพุทธทาส มิได้กล่าวอะไรผิดไป แต่เพราะความโง่เขลาเบาปัญญาของมันโดยแท้
จึงได้เกิด กรณี กล่าวร้ายพระ ติเตียนพระ ด้วยเหตุผลโง่ๆ และ ปราศจาก หลักฐานรองรับ อย่างที่เห็นกันอยู่ในบัดนี้
ถามว่า หากไม่มีการเอาจริงเอาจัง ในการแสดงข้อเท็จจริง ซึ่งเป็นความจริงแท้ๆ
ที่มิได้เป็นเพียงแค่ การคิดเองเออเอง ด้วย ตัณหา และ ทิฐิ ของชาวพุทธชายขอบเหล่านั้น
จะมี ชาวพุทธ ผู้เริ่มศึกษา ผู้เข้ามาใหม่ ที่หลงผิด หรือ เข้าใจผิด แล้วไปก่อบาปก่อกรรม
พากันลงเหว ด้วยการกล่าวปรามาส ติเตียน ท่านพุทธทาส ผู้หาความผิดมิได้ กันอีกสักกี่ราย ?
ช่างน่าสมเพชโดยแท้
สวัสดี