เช่นเดียวกับ ไข่ กับ ไก่ อะไรเกิดก่อน นั่นเอง
เกิดขึ้นมา สัตว์ทั้งหลาย ก็รับผลกรรมแล้ว ทางตาบ้าง หูบ้าง จมูกบ้าง ลิ้นบ้าง กายบ้าง โดยอาศัยใจเป็นตัวรับรู้
ใจที่เกิดขึ้นรับรู้อารมณ์ทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้น เรียกว่า วิบากจิต หรือ วิปากวิญญาณ (วิ-ปา-กะ-วิน-ยาน)
วิบากจิต นี้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป
เกิดจิตประเภทอื่นขึ้นที่ หทยวัตถุ .......................... เช่น กิริยาจิต
เมื่อ กิริยาจิต ได้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไปเช่นกัน
เกิดจิตอีกประเภทขึ้นที่ หทยวัตถุสืบต่อทันที บางครั้งก็เป็น กุศลจิต บางครั้งก็ อกุศลจิต
จิต สองประเภทนี้ เป็นจิตที่มีอำนาจ ในการ สร้างกรรม ก่อกรรม ให้เกิดวิบากในอนาคตได้
และ เมื่อ จิตที่ก่อกรรม ได้เกิดขึ้นมากมายหลายดวง สืบต่อกัน ได้ดับลงไปแล้ว
สิ่งที่ตามมาคือ วิบากจิต อีกครา เกิดที่หทยวัตถุที่เดิม
แต่วิบากจิตนี้ เกิดขึ้นโดยไม่อาศัยทวาร 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ................................ เรียกว่า ภวังคจิต
ภวังคจิต นับเป็น ผลของกรรม(วิบากจิต) เช่นกัน
รายละเอียด สามารถศึกษา ได้จากเรื่อง วิถีจิต ....... ครับ
กรรม และ ผลของกรรม(วิบาก) อะไรเกิดก่อนกัน
เกิดขึ้นมา สัตว์ทั้งหลาย ก็รับผลกรรมแล้ว ทางตาบ้าง หูบ้าง จมูกบ้าง ลิ้นบ้าง กายบ้าง โดยอาศัยใจเป็นตัวรับรู้
ใจที่เกิดขึ้นรับรู้อารมณ์ทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้น เรียกว่า วิบากจิต หรือ วิปากวิญญาณ (วิ-ปา-กะ-วิน-ยาน)
วิบากจิต นี้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป
เกิดจิตประเภทอื่นขึ้นที่ หทยวัตถุ .......................... เช่น กิริยาจิต
เมื่อ กิริยาจิต ได้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไปเช่นกัน
เกิดจิตอีกประเภทขึ้นที่ หทยวัตถุสืบต่อทันที บางครั้งก็เป็น กุศลจิต บางครั้งก็ อกุศลจิต
จิต สองประเภทนี้ เป็นจิตที่มีอำนาจ ในการ สร้างกรรม ก่อกรรม ให้เกิดวิบากในอนาคตได้
และ เมื่อ จิตที่ก่อกรรม ได้เกิดขึ้นมากมายหลายดวง สืบต่อกัน ได้ดับลงไปแล้ว
สิ่งที่ตามมาคือ วิบากจิต อีกครา เกิดที่หทยวัตถุที่เดิม
แต่วิบากจิตนี้ เกิดขึ้นโดยไม่อาศัยทวาร 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ................................ เรียกว่า ภวังคจิต
ภวังคจิต นับเป็น ผลของกรรม(วิบากจิต) เช่นกัน
รายละเอียด สามารถศึกษา ได้จากเรื่อง วิถีจิต ....... ครับ