อำนาจอธิปไตยมี 3 ส่วนคือ นิติบัญญัติ บริหารฯ และตุลาการ มีอำนาจแต่ละส่วนชัดเจนไม่ก้าวก่ายกัน ฝ่ายนิติบัญญัติ
มีหน้าที่หลักในการออกกฎหมาย, แก้กฎหมายให้ทันสมัยและเป็นธรรมแก่ประชาชน การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ฝ่ายนิติ
บัญญัติมีอำนาจเต็มที่ในการแก้ไข ยกเว้นหมวดพระมหากษัตริย์ ซึ่งขณะนี้ ส.ส., และ ส.ว. ได้ดำเนินการตามขั้นตอนเสร็จสิ้นแล้ว...
แต่เมื่อมีผู้ยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความ เรื่องนี้ศาลฯไม่สามารถรับได้เองต้องให้ผู้ร้องยื่นต่ออัยการสูงสุดก่อน แต่เมื่อศาลฯบังอาจ
รับไว้ จึงถือว่าศาลฯ กระทำการขัดรัฐธรรมเสียเอง ดังนั้นแม้ศาลจะวินิจฉัยออกมาอย่างไร...ย่อมเป็นโมฆะทันที
การที่ รัฐบาล...ส.ส., ส.ว. ออกมาประกาศไม่ยอมรับผลการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จึงด้วยประการทั้งปวง..
รัฐบาล...ส.ส.,ส.ว. ประกาศไม่รับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ...ถูกต้องที่สุดแล้ว...
อำนาจอธิปไตยมี 3 ส่วนคือ นิติบัญญัติ บริหารฯ และตุลาการ มีอำนาจแต่ละส่วนชัดเจนไม่ก้าวก่ายกัน ฝ่ายนิติบัญญัติ
มีหน้าที่หลักในการออกกฎหมาย, แก้กฎหมายให้ทันสมัยและเป็นธรรมแก่ประชาชน การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ฝ่ายนิติ
บัญญัติมีอำนาจเต็มที่ในการแก้ไข ยกเว้นหมวดพระมหากษัตริย์ ซึ่งขณะนี้ ส.ส., และ ส.ว. ได้ดำเนินการตามขั้นตอนเสร็จสิ้นแล้ว...
แต่เมื่อมีผู้ยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความ เรื่องนี้ศาลฯไม่สามารถรับได้เองต้องให้ผู้ร้องยื่นต่ออัยการสูงสุดก่อน แต่เมื่อศาลฯบังอาจ
รับไว้ จึงถือว่าศาลฯ กระทำการขัดรัฐธรรมเสียเอง ดังนั้นแม้ศาลจะวินิจฉัยออกมาอย่างไร...ย่อมเป็นโมฆะทันที
การที่ รัฐบาล...ส.ส., ส.ว. ออกมาประกาศไม่ยอมรับผลการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ จึงด้วยประการทั้งปวง..