Maysaanitto Home
อันตรายสารตะกั่วจากหนังสือพิมพ์
หนังสือพิมพ์เป็นสื่อกลางที่จะถ่ายทอดข่าวสารให้เราได้รู้ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในที่ต่าง ๆ ทุกวัน แต่จะมีใครนึกถึงหรือไม่ว่า หนังสือพิมพ์เป็นแหล่งที่มาของสารตะกั่วที่ใกล้ตัวเรามากที่สุด ทั้งนี้ก็เพราะหมึกพิมพ์ของหนังสือพิมพ์นั้นมีสารตะกั่วปนอยู่และเมื่อเราอ่านหนังสือพิมพ์เสร็จแล้วก็มักจะเก็บรวม ๆ ไว้ พอมาก ๆ เข้าก็ชั่งกิโลขาย เพื่อนำไปพับถุงกระดาษขายอีกต่อหนึ่ง ซึ่งเป็นสาเหตุของการปนเปื้อนของสารตะกั่วในอาหาร ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้
http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_tx_1_001c.asp?info_id=113
------------------------------------
พิษจากการได้รับสารตะกั่วนั้น มีทั้งอาการเฉียบพลันและเรื้อรัง หลังจากตะกั่วดูดซึมจากลำไส้แล้ว ตะกั่วจะเข้าสู่ตับโดยผ่านทางเส้นเลือดดำ บางส่วนจะถูกขับออกทางน้ำดีและอุจจาระ ถ้าหากตะกั่วเข้าไปในปอด จะเข้าสู่กระแสเลือดซึ่งจะพาตะกั่วไปทั่วร่างกาย กระจายไปอยู่ที่เส้นผมและตามเนื้อเยื่ออ่อน เช่น สมอง ปอด ม้าม ตับ และไต ซึ่งอาจมีอาการรุนแรงเฉียบพลันได้
ตะกั่วสะสมในร่างกาย ในกระแสเลือด ในเนื้อเยื่ออ่อน โดย 90% ของตะกั่วที่สะสมอยู่ในร่างกายจะอยู่ในกระดูก ซึ่งจะก่อให้เกิดพิษเรื้อรังทำให้มีอาการปวดตามข้อ กระดูกผุ และหักง่าย ถ้าไปสะสมที่รากฟันจะทำให้ ฟันหลุดได้ง่าย สารตะกั่ว สามารถเกาะกับกระดูกในร่างกาย ได้นานหลายสิบปี
อาการพิษเรื้อรังจากสารตะกั่ว คือ ปวดท้อง น้ำหนักลด เบื่ออาหารคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อาการพิษทางประสาท และสมอง ทำให้ทรงตัวไม่อยู่ ประสาทหลอน ซึม ไม่รู้สึกตัว ชัก มือและเท้าตก เป็นอัมพาต สลบ และอาจเสียชีวิตได้
http://www.pharmacy.cmu.ac.th/web2553/n57.php
สลิ่มครับ ....
อันตรายกระทงข้าวม๊อบตังค์ทอน...กระทงแถมสารตะกั่วย่อยสลายง่าย...ไม่มีพสาสติกจริงหรือสลิ่ม???
Maysaanitto Home
อันตรายสารตะกั่วจากหนังสือพิมพ์
หนังสือพิมพ์เป็นสื่อกลางที่จะถ่ายทอดข่าวสารให้เราได้รู้ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในที่ต่าง ๆ ทุกวัน แต่จะมีใครนึกถึงหรือไม่ว่า หนังสือพิมพ์เป็นแหล่งที่มาของสารตะกั่วที่ใกล้ตัวเรามากที่สุด ทั้งนี้ก็เพราะหมึกพิมพ์ของหนังสือพิมพ์นั้นมีสารตะกั่วปนอยู่และเมื่อเราอ่านหนังสือพิมพ์เสร็จแล้วก็มักจะเก็บรวม ๆ ไว้ พอมาก ๆ เข้าก็ชั่งกิโลขาย เพื่อนำไปพับถุงกระดาษขายอีกต่อหนึ่ง ซึ่งเป็นสาเหตุของการปนเปื้อนของสารตะกั่วในอาหาร ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้
http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_tx_1_001c.asp?info_id=113
------------------------------------
พิษจากการได้รับสารตะกั่วนั้น มีทั้งอาการเฉียบพลันและเรื้อรัง หลังจากตะกั่วดูดซึมจากลำไส้แล้ว ตะกั่วจะเข้าสู่ตับโดยผ่านทางเส้นเลือดดำ บางส่วนจะถูกขับออกทางน้ำดีและอุจจาระ ถ้าหากตะกั่วเข้าไปในปอด จะเข้าสู่กระแสเลือดซึ่งจะพาตะกั่วไปทั่วร่างกาย กระจายไปอยู่ที่เส้นผมและตามเนื้อเยื่ออ่อน เช่น สมอง ปอด ม้าม ตับ และไต ซึ่งอาจมีอาการรุนแรงเฉียบพลันได้
ตะกั่วสะสมในร่างกาย ในกระแสเลือด ในเนื้อเยื่ออ่อน โดย 90% ของตะกั่วที่สะสมอยู่ในร่างกายจะอยู่ในกระดูก ซึ่งจะก่อให้เกิดพิษเรื้อรังทำให้มีอาการปวดตามข้อ กระดูกผุ และหักง่าย ถ้าไปสะสมที่รากฟันจะทำให้ ฟันหลุดได้ง่าย สารตะกั่ว สามารถเกาะกับกระดูกในร่างกาย ได้นานหลายสิบปี
อาการพิษเรื้อรังจากสารตะกั่ว คือ ปวดท้อง น้ำหนักลด เบื่ออาหารคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อาการพิษทางประสาท และสมอง ทำให้ทรงตัวไม่อยู่ ประสาทหลอน ซึม ไม่รู้สึกตัว ชัก มือและเท้าตก เป็นอัมพาต สลบ และอาจเสียชีวิตได้
http://www.pharmacy.cmu.ac.th/web2553/n57.php
สลิ่มครับ ....