สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 1
เป็นคำถามที่ดีมากเลยครับและไม่โง่เลยจริงๆ คำถามอย่างนี้แหละครับที่เป็นต้นกำเนิดของอินซูลินฉีดเลย
1.หากร่างกายมีการดูดกลับที่presynaptic cellมากเกินไปการใช้ยาไปลดการดูดกลับเป็นการรักษาที่ตรงจุดครับ การฉีดยาจะไม่ใช่การรักษาที่ตรงจุด
2.ข้อเสียของยาฉีดแบบนี้คือ
2.1 พอฉีดแล้วร่างกายจะรับรู้ว่าซีโรโทนินในร่างกายสูงเป็นปกติอยู่ หากปรับโดสไม่ดีแล้วฉีดมากเกินไปร่างกายจะรู้สึกว่ามีเซโรโทนินมากและจะลดการสร้างเซโรโทนินจริงๆลง ทำให้ต่อไปจะต้องพึ่งยาตลอดเพราะต่อมสร้างฝ่อลง
2.2การปรับโดสของเซโรโทนินในยาที่ใช้ฉีดยากมากถึงยากที่สุดเพราะเซโรโทนินที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นน้อยมากๆจนปรับขนาดเพื่อฉีดได้ยาก
2.3 เซโรโทนินในร่างกายจะปรับขึ้นลงในระหว่างวันไม่เท่ากันสมมุตนะครับ ร่างกายสร้างมากตอนเช้าครั่งนึงกับเย็นอีกครั้งนึง ทำให้ต้องฉีดยาวันละหลายครั้ง หรือเราอาจไม่รู้เลยก็ได้ว่าต้องฉีดตอนไหนและแต่ละวันต้องฉีดโดสเท่าไหร่ เพราะปัจจัยอื่นที่กระทบกับเซโรโทนินมากกว่า หากเปรียบเทียบกับฮอร์โมนอื่นเช่นอินซูลินที่เรารู้ว่ามื้ออารหารของผู้ป่วยจะทำให้ร่างกายมีน้ำตสลสูงช่วงไหน
2.4 การฉีดยาจะทำให้ร่างกายได้รับเซโรโทนินกระจายไปทั่วทำให้สมองส่วนอื่นหรืออวัยวะอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องได้รับเซโรโทนินเกิน ทีนี้จะทำให้ส่วนอื่นที่เป็นปกติรวนได้ การกินยาก็อาจเกิดเช่นกันแต่บริเวณsynaptic areaจะมีการปรับสมดุลอยู่ด้วยในareaนั้นๆจึงเกิดผลได้น้อยกว่ายาฉีด
1.หากร่างกายมีการดูดกลับที่presynaptic cellมากเกินไปการใช้ยาไปลดการดูดกลับเป็นการรักษาที่ตรงจุดครับ การฉีดยาจะไม่ใช่การรักษาที่ตรงจุด
2.ข้อเสียของยาฉีดแบบนี้คือ
2.1 พอฉีดแล้วร่างกายจะรับรู้ว่าซีโรโทนินในร่างกายสูงเป็นปกติอยู่ หากปรับโดสไม่ดีแล้วฉีดมากเกินไปร่างกายจะรู้สึกว่ามีเซโรโทนินมากและจะลดการสร้างเซโรโทนินจริงๆลง ทำให้ต่อไปจะต้องพึ่งยาตลอดเพราะต่อมสร้างฝ่อลง
2.2การปรับโดสของเซโรโทนินในยาที่ใช้ฉีดยากมากถึงยากที่สุดเพราะเซโรโทนินที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นน้อยมากๆจนปรับขนาดเพื่อฉีดได้ยาก
2.3 เซโรโทนินในร่างกายจะปรับขึ้นลงในระหว่างวันไม่เท่ากันสมมุตนะครับ ร่างกายสร้างมากตอนเช้าครั่งนึงกับเย็นอีกครั้งนึง ทำให้ต้องฉีดยาวันละหลายครั้ง หรือเราอาจไม่รู้เลยก็ได้ว่าต้องฉีดตอนไหนและแต่ละวันต้องฉีดโดสเท่าไหร่ เพราะปัจจัยอื่นที่กระทบกับเซโรโทนินมากกว่า หากเปรียบเทียบกับฮอร์โมนอื่นเช่นอินซูลินที่เรารู้ว่ามื้ออารหารของผู้ป่วยจะทำให้ร่างกายมีน้ำตสลสูงช่วงไหน
2.4 การฉีดยาจะทำให้ร่างกายได้รับเซโรโทนินกระจายไปทั่วทำให้สมองส่วนอื่นหรืออวัยวะอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องได้รับเซโรโทนินเกิน ทีนี้จะทำให้ส่วนอื่นที่เป็นปกติรวนได้ การกินยาก็อาจเกิดเช่นกันแต่บริเวณsynaptic areaจะมีการปรับสมดุลอยู่ด้วยในareaนั้นๆจึงเกิดผลได้น้อยกว่ายาฉีด
แสดงความคิดเห็น
สารซีโรโทนิน ไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นมาได้เหรอครับ
เนื่องจากอ่านเจอว่า โรคซึมเศร้า เกิดจากร่างกายมีการดูดกลับของสารซีโนโทนินมากเกินไป ยาที่ใช้ต้านอาการซึมเศร้า ก็จะลดการดูดกลับของสารนี้ ถ้าอย่างนั้นเรา สังเคราะห์สารนี้ขึ้นมาแล้วฉีดเพื่อเพิ่มสารนี้ในร่างกายเลยไม่ได้เหรอครับ (เหมือนอินซูลิน เมลาโทนิน หรือ ฮอร์โมนเพศ)
เนื่องจากไม่มีความรู้ด้านนี้เลย หากคำถามดูโง่ ๆ ไปหน่อยต้องขออภัยด้วยครับ