24 มิถุนายน 2556 (แก้ CAT TRUEผ่านไป356วันแล้ว) (เมื่อ18 มิ.ย.)กฤษฎีกาชี้ขาด สัญญา CAT TRUE ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนปี 35 (ยืนยัน การบริหารคลื่นเป็นของCATส่งผลให้CATต้องเป็นผู้ดูแลอุปกรณ์)
ประเด็นหลัก
1.สัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รูปแบบใหม่ของ กสท ต้องดำเนินการตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯหรือไม่ 2.การแก้ไขสัญญาตามมาตรา46 ตามพ.ร.บ.กสทช. เป็นการปฏิบัติตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯหรือไม่ และ3. หากสัญญาดังกล่าวต้องปฏิบัติตามพ.ร.บ.ร่วมทุนฯแล้ว กสท ควรมีแนวทางดำเนินการอย่างไร
ขณะที่ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ได้พิจารณาตีความ ตามข้อเท็จจริงว่า ในประเด็นแรก การขายส่งตามสัญญาระหว่าง กสท กับกลุ่มทรูนั้น กสท ไม่ได้มอบคลื่นความถี่ไปให้กลุ่มทรูฯ บริหารจัดการแต่อย่างใด เพราะการใช้คลื่นความถี่ดังกล่าว กสท ต้องใช้ประกอบกิจการด้วยตัวเองตามาตรา 46 พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 กรณีเรื่องคลื่นจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยว่าคลื่นความถี่เป็นของหน่วยงานรัฐหรือไม่ ประกอบกับการขายส่งในสัญญานี้เป็นการขายส่งให้แก่ผู้รับใบอนุญาตรายอื่นเพื่อนำไปให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นการประกอบกิจการตามประกาศ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เรื่องการประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายส่งบริการและบริการขายต่อ
นอกจากนี้ ข้อกำหนดในสัญญา ยังกำหนดให้ กสท ได้รับค่าบริการและค่าตอบแทนในอัตราที่แน่นอนตายตัว โดยไม่มีการแบ่งปันรายได้ กำไร หรือผลประโยชน์ใดๆ หรือร่วมรับผลกำไรหรือขาดทุนไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ร่วมทั้งมิให้ได้กำหนดให้กลุ่มบริษัท ทรู รับสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว ฉะนั้นจึงไม่มีลักษณะเป็นการร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ ตามพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ
ส่วนประเด็นที่สอง และสามนั้น เมื่อการแก้ไขสัญญาเป็นการดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรา46 พ.ร.บ.กสทช. โดยในข้อสัญญาได้กำหนดให้ กสท เป็นผู้ดูแลควบคุมเครื่องอุปกรณ์ เสาโทรคมนาคม และระบบสื่อสัญญาณ (Transmission) ที่เช่า และบริหารจัดการคลื่นความถี่ รวมทั้งกำหนดเทคโนโลยี การดูแลควบคุมการบริหารจัดการ Configuration รวมทั้งดูแลคุณภาพการให้บริการเองทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการกฤษฎีกาฯ จึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าว
______________________________________
ปลดล็อกสัญญา 3 จี "กสท-ทรูมูฟ" กฤษฎีกาชี้ขาดเปิดทางขยายเครือข่ายเต็มสูบ
กสท โทรคมนาคมยกภูเขาออกจากอก หลังคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความสัญญาทำการตลาด 3 จี “กสท–ทรูมูฟ” ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนปี 35 เปิดทางลุยขยายเครือข่ายเต็มพิกัด
ผู้สื่อข่าว รายงานว่า เมื่อวันที่ 18 มิ.ย. ที่ผ่านมา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ทำหนังสือด่วนที่สุดที่ นร.0901/1040-1042 แจ้งไปยังสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ, สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที), บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) กรณีการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือ 3 จี รูปแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ระหว่าง บริษัท กสท โทรคมนาคม กับกลุ่มบริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) จำนวนทั้งสิ้น 6 สัญญาว่าไม่เข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชน เข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐพ.ศ.2535 แต่อย่างใด
การ ตีความดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องมาจาก บริษัท กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกฤษฎีกาเมื่อเดือน มี.ค.56 เพื่อขอให้กฤษฎีกาตีความให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับการทำสัญญาธุรกิจ โทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3 จี ดังกล่าวที่มีการลงนามในสัญญามาเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 54 ที่จนถึงวันนี้ก็ยังมีปัญหาคลุมเครือจึงต้องการความชัดเจนในประเด็นดังต่อไป นี้ 1.สัญญาการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3 จีของ กสท ต้องดำเนินการตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ 2.การแก้ไขสัญญาตามมาตรา 46 ตาม พ.ร.บ.กสทช.เป็นการปฏิบัติตามขั้นตอน พ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ และ 3.หากสัญญาดังกล่าวต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ร่วมทุนแล้ว กสท ควรมีแนวทางดำเนินการอย่างไร
ทั้งนี้ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ซึ่งพิจารณาตีความตามข้อเท็จจริงระบุว่าประเด็นแรก การขายส่งตามสัญญาระหว่าง กสท กับกลุ่ม
ทรู นั้น กสท ไม่ได้มอบคลื่นความถี่ไปให้กลุ่มทรูบริหารจัดการแต่อย่างใด เพราะการใช้คลื่นความถี่ดังกล่าว กสท ต้องใช้ประกอบกิจการด้วยตัวเองตามมาตรา 46 พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 กรณีเรื่องคลื่นจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยว่า คลื่นความถี่เป็นของหน่วยงานรัฐหรือไม่ ประกอบกับการขายส่งในสัญญานี้เป็นการขายส่งให้แก่ผู้รับใบอนุญาตรายอื่น เพื่อนำไปให้บริการโทรศัพท์มือถือ เป็นการประกอบกิจการตามประกาศ กสทช. เรื่องการประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายส่งบริการและบริการขายต่อ
นอกจาก นี้ ข้อกำหนดในสัญญายังกำหนดให้ กสท ได้รับค่าบริการและค่าตอบแทนในอัตราที่แน่นอนตายตัว โดยไม่มีการแบ่งปันรายได้ กำไรหรือผลประโยชน์ใดๆ หรือร่วมรับผลกำไร หรือขาดทุนไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม รวมทั้งมิให้ได้กำหนดให้กลุ่มบริษัททรู รับสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว ฉะนั้นจึงไม่มีลักษณะเป็นการร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ ตาม พ.ร.บ.ร่วมทุน
ส่วนประเด็นที่สองและสามนั้น เมื่อการแก้ไขสัญญาเป็นการดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรา 46 พ.ร.บ. กสทช.โดยในข้อสัญญาได้กำหนดให้ กสท เป็นผู้ดูแลควบคุมเครื่องอุปกรณ์ เสาโทรคมนาคม และระบบสื่อสัญญาณ (Transmission) ที่เช่า และบริหารจัดการคลื่นความถี่ รวมทั้งกำหนดเทคโนโลยี การดูแลควบคุมการบริหารจัดการ Configuration รวมทั้งดูแลคุณภาพการให้บริการเองทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าว.
โดย: ทีมข่าวเศรษฐกิจ
http://m.thairath.co.th/content/eco/353030
______________________________________
“กสท”ตีปีกรับผล“กฤษฎีกา”ตีความ สัญญา3G“ทรู”ไม่ขัดกม.
คณะกรรมการกฤษฎีกา ร่อนหนังสือ ถึง ครม.-สคร. รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระบุสัญญาร่วมธุรกิจ3G HSPA ระหว่าง “ทรู-กสท” ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนฯปี’35 เปิดทางลุยให้บริการมือถือต่อ
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ทำหนังสือด่วนที่สุด เลขที่นร.0901/1040-1042 แจ้งไปยัง สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ(สคร.) สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ไอซีที) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) และคณะรัฐมนตรี(ครม.) ถึงผลการตีความ กรณีการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G รูปแบบใหม่ ภายใต้เทคโนโลยีHSPA บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิตรซ์(MHz) ระหว่าง กสท กับ กลุ่มบริษท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) จำนวนทั้งสิ้น 6 สัญญาว่า เข้าข่ายพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงาน หรือดำเนินการในกิจการของรัฐพ.ศ.2535 (พรบ.ร่วมทุนฯ)หรือไม่ โดยผลตีความระบุว่า ไม่เข้าข่ายพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ แต่อย่างใด
การตีความดังกล่าว เป็นผลสืบเนื่องมาจาก กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกฤษฎีกาเมื่อเดือนมีนาคม2556 ที่ผ่านมา เพื่อสอบถามความเห็น และขอให้กฤษฎีกาตีความให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่รูปแบบใหม่( 3 G HSPA)ที่มีการลงนามในสัญญามาเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2552 ปัญหาคลุมเครือในประเด็นกฎหมาย จึงต้องการความชัดเจน และให้กฤษฎีกาตีความ ตามประเด็นดังต่อไปนี้
1.สัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รูปแบบใหม่ของ กสท ต้องดำเนินการตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯหรือไม่ 2.การแก้ไขสัญญาตามมาตรา46 ตามพ.ร.บ.กสทช. เป็นการปฏิบัติตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯหรือไม่ และ3. หากสัญญาดังกล่าวต้องปฏิบัติตามพ.ร.บ.ร่วมทุนฯแล้ว กสท ควรมีแนวทางดำเนินการอย่างไร
ขณะที่ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ได้พิจารณาตีความ ตามข้อเท็จจริงว่า ในประเด็นแรก การขายส่งตามสัญญาระหว่าง กสท กับกลุ่มทรูนั้น กสท ไม่ได้มอบคลื่นความถี่ไปให้กลุ่มทรูฯ บริหารจัดการแต่อย่างใด เพราะการใช้คลื่นความถี่ดังกล่าว กสท ต้องใช้ประกอบกิจการด้วยตัวเองตามาตรา 46 พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 กรณีเรื่องคลื่นจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยว่าคลื่นความถี่เป็นของหน่วยงานรัฐหรือไม่ ประกอบกับการขายส่งในสัญญานี้เป็นการขายส่งให้แก่ผู้รับใบอนุญาตรายอื่นเพื่อนำไปให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นการประกอบกิจการตามประกาศ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เรื่องการประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายส่งบริการและบริการขายต่อ
นอกจากนี้ ข้อกำหนดในสัญญา ยังกำหนดให้ กสท ได้รับค่าบริการและค่าตอบแทนในอัตราที่แน่นอนตายตัว โดยไม่มีการแบ่งปันรายได้ กำไร หรือผลประโยชน์ใดๆ หรือร่วมรับผลกำไรหรือขาดทุนไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ร่วมทั้งมิให้ได้กำหนดให้กลุ่มบริษัท ทรู รับสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว ฉะนั้นจึงไม่มีลักษณะเป็นการร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ ตามพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ
ส่วนประเด็นที่สอง และสามนั้น เมื่อการแก้ไขสัญญาเป็นการดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรา46 พ.ร.บ.กสทช. โดยในข้อสัญญาได้กำหนดให้ กสท เป็นผู้ดูแลควบคุมเครื่องอุปกรณ์ เสาโทรคมนาคม และระบบสื่อสัญญาณ (Transmission) ที่เช่า และบริหารจัดการคลื่นความถี่ รวมทั้งกำหนดเทคโนโลยี การดูแลควบคุมการบริหารจัดการ Configuration รวมทั้งดูแลคุณภาพการให้บริการเองทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการกฤษฎีกาฯ จึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าว
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เคยแต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ เรื่องนี้ โดยระบุว่า สัญญามีพิรุธใน 5 ประเด็น รวมทั้งประเด็นที่ว่า สัญญาดังกล่วต้องเข้าพรบ.ร่วมทุนฯหรือไม่ ซึ่งหากเข้าข่ายอาจทำให้บริการ3G HSPA ทั้ง กสท และ ทรู อาจสะดุดลง จนล่าสุดคณะกรรมการกฤษฎีกาฯ ได้สรุปผลการตีความออกมาว่าไม่เข้าข่าย
http://www.naewna.com/business/56964
(เมื่อ18 มิ.ย.)กฤษฎีกาชี้ขาดสัญญาCAT TRUEไม่เข้าข่ายพ.ร.บ.ร่วมทุน(ยืนยันคลื่นเป็นของCATส่งผลให้CATต้องเป็นผู้ดูแลอุปกรณ์
ประเด็นหลัก
1.สัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รูปแบบใหม่ของ กสท ต้องดำเนินการตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯหรือไม่ 2.การแก้ไขสัญญาตามมาตรา46 ตามพ.ร.บ.กสทช. เป็นการปฏิบัติตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯหรือไม่ และ3. หากสัญญาดังกล่าวต้องปฏิบัติตามพ.ร.บ.ร่วมทุนฯแล้ว กสท ควรมีแนวทางดำเนินการอย่างไร
ขณะที่ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ได้พิจารณาตีความ ตามข้อเท็จจริงว่า ในประเด็นแรก การขายส่งตามสัญญาระหว่าง กสท กับกลุ่มทรูนั้น กสท ไม่ได้มอบคลื่นความถี่ไปให้กลุ่มทรูฯ บริหารจัดการแต่อย่างใด เพราะการใช้คลื่นความถี่ดังกล่าว กสท ต้องใช้ประกอบกิจการด้วยตัวเองตามาตรา 46 พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 กรณีเรื่องคลื่นจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยว่าคลื่นความถี่เป็นของหน่วยงานรัฐหรือไม่ ประกอบกับการขายส่งในสัญญานี้เป็นการขายส่งให้แก่ผู้รับใบอนุญาตรายอื่นเพื่อนำไปให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นการประกอบกิจการตามประกาศ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เรื่องการประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายส่งบริการและบริการขายต่อ
นอกจากนี้ ข้อกำหนดในสัญญา ยังกำหนดให้ กสท ได้รับค่าบริการและค่าตอบแทนในอัตราที่แน่นอนตายตัว โดยไม่มีการแบ่งปันรายได้ กำไร หรือผลประโยชน์ใดๆ หรือร่วมรับผลกำไรหรือขาดทุนไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ร่วมทั้งมิให้ได้กำหนดให้กลุ่มบริษัท ทรู รับสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว ฉะนั้นจึงไม่มีลักษณะเป็นการร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ ตามพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ
ส่วนประเด็นที่สอง และสามนั้น เมื่อการแก้ไขสัญญาเป็นการดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรา46 พ.ร.บ.กสทช. โดยในข้อสัญญาได้กำหนดให้ กสท เป็นผู้ดูแลควบคุมเครื่องอุปกรณ์ เสาโทรคมนาคม และระบบสื่อสัญญาณ (Transmission) ที่เช่า และบริหารจัดการคลื่นความถี่ รวมทั้งกำหนดเทคโนโลยี การดูแลควบคุมการบริหารจัดการ Configuration รวมทั้งดูแลคุณภาพการให้บริการเองทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการกฤษฎีกาฯ จึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าว
______________________________________
ปลดล็อกสัญญา 3 จี "กสท-ทรูมูฟ" กฤษฎีกาชี้ขาดเปิดทางขยายเครือข่ายเต็มสูบ
กสท โทรคมนาคมยกภูเขาออกจากอก หลังคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความสัญญาทำการตลาด 3 จี “กสท–ทรูมูฟ” ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนปี 35 เปิดทางลุยขยายเครือข่ายเต็มพิกัด
ผู้สื่อข่าว รายงานว่า เมื่อวันที่ 18 มิ.ย. ที่ผ่านมา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ทำหนังสือด่วนที่สุดที่ นร.0901/1040-1042 แจ้งไปยังสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ, สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที), บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) กรณีการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์มือถือ 3 จี รูปแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ระหว่าง บริษัท กสท โทรคมนาคม กับกลุ่มบริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) จำนวนทั้งสิ้น 6 สัญญาว่าไม่เข้าข่าย พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชน เข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐพ.ศ.2535 แต่อย่างใด
การ ตีความดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องมาจาก บริษัท กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกฤษฎีกาเมื่อเดือน มี.ค.56 เพื่อขอให้กฤษฎีกาตีความให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับการทำสัญญาธุรกิจ โทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3 จี ดังกล่าวที่มีการลงนามในสัญญามาเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 54 ที่จนถึงวันนี้ก็ยังมีปัญหาคลุมเครือจึงต้องการความชัดเจนในประเด็นดังต่อไป นี้ 1.สัญญาการให้บริการโทรศัพท์มือถือรูปแบบใหม่ 3 จีของ กสท ต้องดำเนินการตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ 2.การแก้ไขสัญญาตามมาตรา 46 ตาม พ.ร.บ.กสทช.เป็นการปฏิบัติตามขั้นตอน พ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ และ 3.หากสัญญาดังกล่าวต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ร่วมทุนแล้ว กสท ควรมีแนวทางดำเนินการอย่างไร
ทั้งนี้ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ซึ่งพิจารณาตีความตามข้อเท็จจริงระบุว่าประเด็นแรก การขายส่งตามสัญญาระหว่าง กสท กับกลุ่ม
ทรู นั้น กสท ไม่ได้มอบคลื่นความถี่ไปให้กลุ่มทรูบริหารจัดการแต่อย่างใด เพราะการใช้คลื่นความถี่ดังกล่าว กสท ต้องใช้ประกอบกิจการด้วยตัวเองตามมาตรา 46 พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 กรณีเรื่องคลื่นจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยว่า คลื่นความถี่เป็นของหน่วยงานรัฐหรือไม่ ประกอบกับการขายส่งในสัญญานี้เป็นการขายส่งให้แก่ผู้รับใบอนุญาตรายอื่น เพื่อนำไปให้บริการโทรศัพท์มือถือ เป็นการประกอบกิจการตามประกาศ กสทช. เรื่องการประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายส่งบริการและบริการขายต่อ
นอกจาก นี้ ข้อกำหนดในสัญญายังกำหนดให้ กสท ได้รับค่าบริการและค่าตอบแทนในอัตราที่แน่นอนตายตัว โดยไม่มีการแบ่งปันรายได้ กำไรหรือผลประโยชน์ใดๆ หรือร่วมรับผลกำไร หรือขาดทุนไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม รวมทั้งมิให้ได้กำหนดให้กลุ่มบริษัททรู รับสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว ฉะนั้นจึงไม่มีลักษณะเป็นการร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ ตาม พ.ร.บ.ร่วมทุน
ส่วนประเด็นที่สองและสามนั้น เมื่อการแก้ไขสัญญาเป็นการดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรา 46 พ.ร.บ. กสทช.โดยในข้อสัญญาได้กำหนดให้ กสท เป็นผู้ดูแลควบคุมเครื่องอุปกรณ์ เสาโทรคมนาคม และระบบสื่อสัญญาณ (Transmission) ที่เช่า และบริหารจัดการคลื่นความถี่ รวมทั้งกำหนดเทคโนโลยี การดูแลควบคุมการบริหารจัดการ Configuration รวมทั้งดูแลคุณภาพการให้บริการเองทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าว.
โดย: ทีมข่าวเศรษฐกิจ
http://m.thairath.co.th/content/eco/353030
______________________________________
“กสท”ตีปีกรับผล“กฤษฎีกา”ตีความ สัญญา3G“ทรู”ไม่ขัดกม.
คณะกรรมการกฤษฎีกา ร่อนหนังสือ ถึง ครม.-สคร. รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระบุสัญญาร่วมธุรกิจ3G HSPA ระหว่าง “ทรู-กสท” ไม่เข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนฯปี’35 เปิดทางลุยให้บริการมือถือต่อ
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ทำหนังสือด่วนที่สุด เลขที่นร.0901/1040-1042 แจ้งไปยัง สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ(สคร.) สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ไอซีที) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) และคณะรัฐมนตรี(ครม.) ถึงผลการตีความ กรณีการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G รูปแบบใหม่ ภายใต้เทคโนโลยีHSPA บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิตรซ์(MHz) ระหว่าง กสท กับ กลุ่มบริษท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) จำนวนทั้งสิ้น 6 สัญญาว่า เข้าข่ายพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงาน หรือดำเนินการในกิจการของรัฐพ.ศ.2535 (พรบ.ร่วมทุนฯ)หรือไม่ โดยผลตีความระบุว่า ไม่เข้าข่ายพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ แต่อย่างใด
การตีความดังกล่าว เป็นผลสืบเนื่องมาจาก กสท ได้ทำหนังสือถึงคณะกรรมการกฤษฎีกาเมื่อเดือนมีนาคม2556 ที่ผ่านมา เพื่อสอบถามความเห็น และขอให้กฤษฎีกาตีความให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับการทำสัญญาธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่รูปแบบใหม่( 3 G HSPA)ที่มีการลงนามในสัญญามาเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2552 ปัญหาคลุมเครือในประเด็นกฎหมาย จึงต้องการความชัดเจน และให้กฤษฎีกาตีความ ตามประเด็นดังต่อไปนี้
1.สัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รูปแบบใหม่ของ กสท ต้องดำเนินการตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯหรือไม่ 2.การแก้ไขสัญญาตามมาตรา46 ตามพ.ร.บ.กสทช. เป็นการปฏิบัติตามขั้นตอนพ.ร.บ.ร่วมทุนฯหรือไม่ และ3. หากสัญญาดังกล่าวต้องปฏิบัติตามพ.ร.บ.ร่วมทุนฯแล้ว กสท ควรมีแนวทางดำเนินการอย่างไร
ขณะที่ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ได้พิจารณาตีความ ตามข้อเท็จจริงว่า ในประเด็นแรก การขายส่งตามสัญญาระหว่าง กสท กับกลุ่มทรูนั้น กสท ไม่ได้มอบคลื่นความถี่ไปให้กลุ่มทรูฯ บริหารจัดการแต่อย่างใด เพราะการใช้คลื่นความถี่ดังกล่าว กสท ต้องใช้ประกอบกิจการด้วยตัวเองตามาตรา 46 พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 กรณีเรื่องคลื่นจึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยว่าคลื่นความถี่เป็นของหน่วยงานรัฐหรือไม่ ประกอบกับการขายส่งในสัญญานี้เป็นการขายส่งให้แก่ผู้รับใบอนุญาตรายอื่นเพื่อนำไปให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นการประกอบกิจการตามประกาศ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เรื่องการประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายส่งบริการและบริการขายต่อ
นอกจากนี้ ข้อกำหนดในสัญญา ยังกำหนดให้ กสท ได้รับค่าบริการและค่าตอบแทนในอัตราที่แน่นอนตายตัว โดยไม่มีการแบ่งปันรายได้ กำไร หรือผลประโยชน์ใดๆ หรือร่วมรับผลกำไรหรือขาดทุนไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ร่วมทั้งมิให้ได้กำหนดให้กลุ่มบริษัท ทรู รับสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว ฉะนั้นจึงไม่มีลักษณะเป็นการร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ ตามพ.ร.บ.ร่วมทุนฯ
ส่วนประเด็นที่สอง และสามนั้น เมื่อการแก้ไขสัญญาเป็นการดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรา46 พ.ร.บ.กสทช. โดยในข้อสัญญาได้กำหนดให้ กสท เป็นผู้ดูแลควบคุมเครื่องอุปกรณ์ เสาโทรคมนาคม และระบบสื่อสัญญาณ (Transmission) ที่เช่า และบริหารจัดการคลื่นความถี่ รวมทั้งกำหนดเทคโนโลยี การดูแลควบคุมการบริหารจัดการ Configuration รวมทั้งดูแลคุณภาพการให้บริการเองทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการกฤษฎีกาฯ จึงไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าว
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ก่อนหน้านี้ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เคยแต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ เรื่องนี้ โดยระบุว่า สัญญามีพิรุธใน 5 ประเด็น รวมทั้งประเด็นที่ว่า สัญญาดังกล่วต้องเข้าพรบ.ร่วมทุนฯหรือไม่ ซึ่งหากเข้าข่ายอาจทำให้บริการ3G HSPA ทั้ง กสท และ ทรู อาจสะดุดลง จนล่าสุดคณะกรรมการกฤษฎีกาฯ ได้สรุปผลการตีความออกมาว่าไม่เข้าข่าย
http://www.naewna.com/business/56964