คิดอย่างไรกับคนไม่มีศาสนา
ผมเป็นคนมีศาสนา
ผมคิดอย่างนี้
คนทุกคนมีความเชื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเสมอ
เป็นโลกทัศน์อย่างใดอย่างหนึ่ง
เป็นกรอบที่เราเลือกสัมพันธ์กับโลกรอบตัว
ความเชื่อของคนจำนวนหนึ่งที่คล้ายกันก็เป็นลัทธิความเชื่อ
หรือเป็นปรัชญาแนวใดแนวหนึ่ง
ถ้ามีองค์ประกอบอื่นๆที่ซับซ้อนก็จะเป็นศาสนา
คนทุกคนมีความเชื่อเสมอ
จะมีเป็นชุดความเชื่อ
แม้บอกว่าจะไม่เชื่ออะไรก็เป็นทัศนะประเภทหนึ่ง
คนที่บอกว่าไม่มีศาสนา
ก็จะมีหลักจริยธรรมอยู่
ก็นับเป็นคนดีกลุ่มหนึ่ง
ถ้าไม่มีจริยธรรมก็จะกลายเป็นคนเลวได้อย่างน่ากลัว
แต่คนมีศาสนาก็เลวได้ไม่แพ้กัน
เพราะถอดศาสนาออกจากคน
ก็เป็นสัตว์ประเภทหนึ่งเหมือนกัน
คนที่มีศาสนาที่ทำเลว
ทำผิดข้อกำหนดที่ตนเลือกแล้ว
ย่อมเป็นคนไม่ตรงต่อตนเอง
ส่วนคนที่ไม่มีศาสนา
ทำเลว ก็จะผิดจากข้อกำหนดที่ตนยึดถือ
ก็เป็นคนที่ไม่ตรงกับตนเหมือนกัน
เพราะฉนั้นจึงไม่ต้องมายกกันว่าใครเลวกว่าใคร
เพราะจุดที่เป็นเหมือนกันคือต่างไม่ซื่อตรงต่อตน ในสิ่งที่ตนเชื่อ
ปัญหาที่เป็นคือ
คนที่ไม่มีศาสนาจะเชื่อในตนเอง
ที่ต้องระวังคือเป็นคนตื้นหรือลึก
ถ้าตื้นแล้วไม่เรียนรู้ชีวิต
ก็จะลอยๆ หรือตามยถากรรม
มีวิกฤติก็หลุดง่าย
(ถ้าเทียบตัวแปรเท่ากันกับคนที่มั่นคงในศาสนา)
หรืออาจเชื่อวิทยาศาสตร์
ซึ่งเป็นเพียงปรัชญาแขนงหนึ่ง
ที่มีเครื่องมือที่ดีในการวัดทางกายภาพ
คือคณิตศาสตร์
แต่ไม่ได้มากกว่าปรัชญาแขนงอื่นในเชิงนามธรรม
สิ่งที่ชาวไม่มีศาสนา
ต้องเผชิญคือความตาย
เพราะส่วนใหญ่เป็นชาววัตถุนิยมปนอยู่ในตัวด้วย
คือเชื่อว่ามีแต่วัตถุเท่านั้น
จิตไม่มี
จิตเกิดจากวัตถุเท่านั้น*
(จิตที่เป็นสิ่งที่รู้สิ่งอื่น รวมทั้งตัวมันเอง
จะเกิดจากวัตถุได้หรือ?)
เมื่อจะต้องตาย
ความตายคือสิ่งที่จะทำลายทุกอย่าง
โดนเฉพาะตัวตน
ที่ตนยึดถือหวงแหนจะต้องหายไป
ความรู้สึกนี้รุนแรง
เป็นความโกรธเศร้าที่สิ้นหวัง
(บนความไม่รู้ว่าตัวตนมีอยู่ก็เป็นความเชื่อ)
ต่อจากกระทู้ คิดอย่างไร...กับคนไม่มีศาสนา
ผมเป็นคนมีศาสนา
ผมคิดอย่างนี้
คนทุกคนมีความเชื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเสมอ
เป็นโลกทัศน์อย่างใดอย่างหนึ่ง
เป็นกรอบที่เราเลือกสัมพันธ์กับโลกรอบตัว
ความเชื่อของคนจำนวนหนึ่งที่คล้ายกันก็เป็นลัทธิความเชื่อ
หรือเป็นปรัชญาแนวใดแนวหนึ่ง
ถ้ามีองค์ประกอบอื่นๆที่ซับซ้อนก็จะเป็นศาสนา
คนทุกคนมีความเชื่อเสมอ
จะมีเป็นชุดความเชื่อ
แม้บอกว่าจะไม่เชื่ออะไรก็เป็นทัศนะประเภทหนึ่ง
คนที่บอกว่าไม่มีศาสนา
ก็จะมีหลักจริยธรรมอยู่
ก็นับเป็นคนดีกลุ่มหนึ่ง
ถ้าไม่มีจริยธรรมก็จะกลายเป็นคนเลวได้อย่างน่ากลัว
แต่คนมีศาสนาก็เลวได้ไม่แพ้กัน
เพราะถอดศาสนาออกจากคน
ก็เป็นสัตว์ประเภทหนึ่งเหมือนกัน
คนที่มีศาสนาที่ทำเลว
ทำผิดข้อกำหนดที่ตนเลือกแล้ว
ย่อมเป็นคนไม่ตรงต่อตนเอง
ส่วนคนที่ไม่มีศาสนา
ทำเลว ก็จะผิดจากข้อกำหนดที่ตนยึดถือ
ก็เป็นคนที่ไม่ตรงกับตนเหมือนกัน
เพราะฉนั้นจึงไม่ต้องมายกกันว่าใครเลวกว่าใคร
เพราะจุดที่เป็นเหมือนกันคือต่างไม่ซื่อตรงต่อตน ในสิ่งที่ตนเชื่อ
ปัญหาที่เป็นคือ
คนที่ไม่มีศาสนาจะเชื่อในตนเอง
ที่ต้องระวังคือเป็นคนตื้นหรือลึก
ถ้าตื้นแล้วไม่เรียนรู้ชีวิต
ก็จะลอยๆ หรือตามยถากรรม
มีวิกฤติก็หลุดง่าย
(ถ้าเทียบตัวแปรเท่ากันกับคนที่มั่นคงในศาสนา)
หรืออาจเชื่อวิทยาศาสตร์
ซึ่งเป็นเพียงปรัชญาแขนงหนึ่ง
ที่มีเครื่องมือที่ดีในการวัดทางกายภาพ
คือคณิตศาสตร์
แต่ไม่ได้มากกว่าปรัชญาแขนงอื่นในเชิงนามธรรม
สิ่งที่ชาวไม่มีศาสนา
ต้องเผชิญคือความตาย
เพราะส่วนใหญ่เป็นชาววัตถุนิยมปนอยู่ในตัวด้วย
คือเชื่อว่ามีแต่วัตถุเท่านั้น
จิตไม่มี
จิตเกิดจากวัตถุเท่านั้น*
(จิตที่เป็นสิ่งที่รู้สิ่งอื่น รวมทั้งตัวมันเอง
จะเกิดจากวัตถุได้หรือ?)
เมื่อจะต้องตาย
ความตายคือสิ่งที่จะทำลายทุกอย่าง
โดนเฉพาะตัวตน
ที่ตนยึดถือหวงแหนจะต้องหายไป
ความรู้สึกนี้รุนแรง
เป็นความโกรธเศร้าที่สิ้นหวัง
(บนความไม่รู้ว่าตัวตนมีอยู่ก็เป็นความเชื่อ)