-ธาตุภายใน คือ จิตตนเอง กายตนเอง..
-ธาตุภายนอก คือ รูปธาตุวัตถุ จิตอื่น บุคคลอื่น..
........................................................................................................................
ในโลกนี้นอกจากจะมีการจำแนกศาสนาออกเป็นศาสนาเทวนิยมและศาสนาอเทวนิยมแล้ว..
ยังสามารถจำแนกออกไปได้ตามวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เห็นๆกันได้อยู่ในโลกนี้ อีก ๒ กลุ่ม คือ..
๑.
ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายนอก ที่สามารถจำแนกแยกย่อยออกไปได้เป็นทั้งวัตถุนิยมและเทวนิยม
ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายนอก คือ การพึ่งพาแสวงหาความสุขจากรูปธาตุ พึ่งพาแสวงหาความสุขจากรูปวัตถุเป็นหลัก
หรือมีความต้องการพึ่งพาจิตอื่นบุคคลอื่น พึ่งพาเทพเทวดาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พึ่งพาพระศาสดาครูอาจารย์เป็นสรณะ
เพื่อมุ่งหวังให้เกิดความสมปรารถนาแก่ตนในด้านต่างๆหรือเพื่อมากระตุ้นตนเองให้มีพละกำลังโดยการอ้อนวอนหรือบนบานศาลกล่าวเป็นต้น..
ถึงแม้ศาสนานี้จะเป็นศาสนาแห่งการปรารถนาความอุดมสมบูรณ์ทางพืชพันธุ์ธัญญาหาร
รวมไปถึงผู้ที่จะมาดลบันดาลมอบประทานความสุขความช่วยเหลือในด้านต่างๆให้แก่ตนที่เป็นการพึ่งพาธาตุภายนอกแล้ว
ก็ยังมีการสอนให้พึ่งพาตนเองที่เป็นธาตุภายในประกอบอยู่ด้วยมากมายอาทิ สอนให้รู้จักการให้ลดละความตระหนี่
สอนให้รักษาศีลระงับความอยากความปรารถนาของตน รู้จักพอ รู้จักสละปล่อยวางไม่ยึดติด มีความสงบในจิตใจ
รู้จักทำความสงบให้เกิดขึ้นในจิตใจตน เป็นต้น..
๒.
ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายใน คือพึ่งพาตนเองหรืออเทวนิยม..
ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายใน คือ การพึ่งพากายใจของตนเองได้ ไม่มีความปรารถนาที่จะพึ่งพาธาตุภายนอกเป็นสรณะ
ไม่ปรารถนาที่จะมีความอยากยึดติดต่อรูปธาตุรูปวัตถุภายนอก ไม่หาสุขเอาจากการพึ่งพารูปธาตุรูปวัตถุเป็นแก่น
พึ่งพาความสุขจากความสงบสันติของตนเอง ไม่พึ่งพาจิตอื่น บุคคลอื่น พระศาสดาหรือครูบาอาจารย์
เพื่อมามอบความสุขให้กับตนเองหรือเป็นที่พึ่งทางจิตใจให้กับตนเองตลอดไป..
เป็นไปตามวิถีแห่งทาน ศีล ภาวนาโดยตรง คือ การสละออก ปล่อยวาง ไม่อยาก ไม่ยึดติด รู้จักพอ มีความสงบสันติในตนเอง..
ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายนอก ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายใน..
-ธาตุภายนอก คือ รูปธาตุวัตถุ จิตอื่น บุคคลอื่น..
........................................................................................................................
ในโลกนี้นอกจากจะมีการจำแนกศาสนาออกเป็นศาสนาเทวนิยมและศาสนาอเทวนิยมแล้ว..
ยังสามารถจำแนกออกไปได้ตามวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เห็นๆกันได้อยู่ในโลกนี้ อีก ๒ กลุ่ม คือ..
๑.ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายนอก ที่สามารถจำแนกแยกย่อยออกไปได้เป็นทั้งวัตถุนิยมและเทวนิยม
ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายนอก คือ การพึ่งพาแสวงหาความสุขจากรูปธาตุ พึ่งพาแสวงหาความสุขจากรูปวัตถุเป็นหลัก
หรือมีความต้องการพึ่งพาจิตอื่นบุคคลอื่น พึ่งพาเทพเทวดาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พึ่งพาพระศาสดาครูอาจารย์เป็นสรณะ
เพื่อมุ่งหวังให้เกิดความสมปรารถนาแก่ตนในด้านต่างๆหรือเพื่อมากระตุ้นตนเองให้มีพละกำลังโดยการอ้อนวอนหรือบนบานศาลกล่าวเป็นต้น..
ถึงแม้ศาสนานี้จะเป็นศาสนาแห่งการปรารถนาความอุดมสมบูรณ์ทางพืชพันธุ์ธัญญาหาร
รวมไปถึงผู้ที่จะมาดลบันดาลมอบประทานความสุขความช่วยเหลือในด้านต่างๆให้แก่ตนที่เป็นการพึ่งพาธาตุภายนอกแล้ว
ก็ยังมีการสอนให้พึ่งพาตนเองที่เป็นธาตุภายในประกอบอยู่ด้วยมากมายอาทิ สอนให้รู้จักการให้ลดละความตระหนี่
สอนให้รักษาศีลระงับความอยากความปรารถนาของตน รู้จักพอ รู้จักสละปล่อยวางไม่ยึดติด มีความสงบในจิตใจ
รู้จักทำความสงบให้เกิดขึ้นในจิตใจตน เป็นต้น..
๒.ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายใน คือพึ่งพาตนเองหรืออเทวนิยม..
ศาสนาแห่งการพึ่งพาธาตุภายใน คือ การพึ่งพากายใจของตนเองได้ ไม่มีความปรารถนาที่จะพึ่งพาธาตุภายนอกเป็นสรณะ
ไม่ปรารถนาที่จะมีความอยากยึดติดต่อรูปธาตุรูปวัตถุภายนอก ไม่หาสุขเอาจากการพึ่งพารูปธาตุรูปวัตถุเป็นแก่น
พึ่งพาความสุขจากความสงบสันติของตนเอง ไม่พึ่งพาจิตอื่น บุคคลอื่น พระศาสดาหรือครูบาอาจารย์
เพื่อมามอบความสุขให้กับตนเองหรือเป็นที่พึ่งทางจิตใจให้กับตนเองตลอดไป..
เป็นไปตามวิถีแห่งทาน ศีล ภาวนาโดยตรง คือ การสละออก ปล่อยวาง ไม่อยาก ไม่ยึดติด รู้จักพอ มีความสงบสันติในตนเอง..