ก้อนหินที่ทำลายไดโนเสาร์เมื่อ 65 ล้านปีก่อนอาจจะเป็นดาวหางแทนที่จะเป็นดาวเคราะห์น้อย นักวิทยาศาสตร์กล่าว
นักวิทยาศาสตร์มากมายเชื่อว่า หลุมชิกซูลูบ (Chicxulub) ขนาด 180 กิโลเมตรในเม็กซิโกเกิดขึ้นจากการปะทะซึ่งเป็นสาเหตุการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ และอีกประมาณ 70% ของสปีชีส์ทั้งหมดบนโลก การศึกษาใหม่เสนอว่าหลุมนี้อาจจะถูกระเบิดออกโดยวัตถุที่มีขนาดเล็กกว่าและเร็วกว่าที่เคยคิดกันไว้ ตามผลการวิจัยที่นำเสนอในสัปดาห์นี้ที่ Lunar and Planetary Science Conference ครั้งที่ 44 ใน The Woodlands, เท็กซัส
หลักฐานการปะทะของหินอวกาศมาจากชั้นของตะกอนทั่วโลกที่ประกอบด้วยธาตุอิริเดียมในระดับสูง มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่ารอยต่อ Cretaceous-Paleogene (K-Pg) ซึ่งไม่สามารถเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติบนโลก
http://www.space.com/20354-dinosaur-extinction-caused-by-comet.html
ดาวหางอาจทำให้ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไม่ใช่ดาวเคราะห์น้อย
ก้อนหินที่ทำลายไดโนเสาร์เมื่อ 65 ล้านปีก่อนอาจจะเป็นดาวหางแทนที่จะเป็นดาวเคราะห์น้อย นักวิทยาศาสตร์กล่าว
นักวิทยาศาสตร์มากมายเชื่อว่า หลุมชิกซูลูบ (Chicxulub) ขนาด 180 กิโลเมตรในเม็กซิโกเกิดขึ้นจากการปะทะซึ่งเป็นสาเหตุการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ และอีกประมาณ 70% ของสปีชีส์ทั้งหมดบนโลก การศึกษาใหม่เสนอว่าหลุมนี้อาจจะถูกระเบิดออกโดยวัตถุที่มีขนาดเล็กกว่าและเร็วกว่าที่เคยคิดกันไว้ ตามผลการวิจัยที่นำเสนอในสัปดาห์นี้ที่ Lunar and Planetary Science Conference ครั้งที่ 44 ใน The Woodlands, เท็กซัส
หลักฐานการปะทะของหินอวกาศมาจากชั้นของตะกอนทั่วโลกที่ประกอบด้วยธาตุอิริเดียมในระดับสูง มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่ารอยต่อ Cretaceous-Paleogene (K-Pg) ซึ่งไม่สามารถเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติบนโลก
http://www.space.com/20354-dinosaur-extinction-caused-by-comet.html