วานนี้คุณจุรินทร์ ลักษณะวิศิษฎ์ กล่าวว่า .....การเลือกตั้งผู้ว่า กทม.ครั้งนี้ มีอนาคตของคนทั้งประเทศ เป็นเดิมพัน เพราะ จะไม่มีการถ่วงดุลอำนาจรัฐ เห็นทีจะจริง ตามที่ ผู้ใหญ่ ฝ่าย ปชป.พูด
เพราะ สโลแกนของ พล.ต.อ. พงศพัศ พงษ์เจริญ บอกแก่ชาว กทม. และประชาชนทั้งประเทศ ให้รู้ ตรง ๆว่า “ ไร้รอยต่อ “ ระว่าง ผู้ว่า กทม. กับ รัฐบาล
โดยเฉพาะ ยังมี ท่านนากยกรัฐมนตรี น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และ รัฐมนตรี ในคณะรัฐบาล ได้ออกมาตอกย้ำความจริงในการเอื้อประโยชน์แก่ ผู้สมัคร ฝ่ายพรรคเพื่อไทย ที่ จะมาลบรอยต่อที่มีอยู่นานแล้ว ให้หมดสิ้นไป
ฟังดูเสมือนรับรองว่า หาก คนกทม. เลือกพงศพัศ เป็นผู้ว่า ฯ ก็จะไม่มีใครมาจับคนกรุงเทพเป็นตัวประกันให้เกิดวังวนของ การทะเลาะเบาะแว้ง และความแตกร้าวขึ้นในระหว่าง ประชาชนชาว กทม. กับชาวต่างจังหวัด เช่นที่เป็นมาเมื่อ 3 – 4 ปีก่อนโน้น อีกแล้ว
อีกประเด็นที่น่าสนใจ ร.ท. หญิง สุณิสา กล่าวว่า .......น.ส.ยิ่งลักษณ์ ลงพื้นที่หาเสียงให้ พงศพัศ นั้น ไปในสฐานะ สมาชิกพรรค เพื่อไทย ไม่สามารถใช้อำนาจรัฐ ไปเอาเปรียบผู้สมัคร คนอื่น ๆ ได้ เพราะ อำนาจการจัดการเลือกตั้ง เป็นของ กกต. ไม่ได้อยู่ทีรัฐบาล .......
แต่ ร.ท.สุณิสา ลืมไปว่า การจัดการให้ ไร้รอยต่อ ระหว่าง หน่วยงาน และ ประชาชนนั้น เป็นหน้าที่โดยตรงของรัฐบาลต้องทำทั้ง และต้องไม่เลือกทำเฉพาะ บางพรรค และบางคน รวมไปถึงรัฐบาลต้อง ไม่สร้างรอยแยกให้เพิ่มขึ้นอีกเลย
ที่ ท่านพงศพัศ กล่าว ในการหาเสียง ไว้ว่า โตยจะประสานงานกับรัฐบาลอย่าง ไร้รอยต่อ เพื่อที่จะให้คน กทม.เข้าถึงแหล่งกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนชุมชนเมือง กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หรือกองทุนอื่นใด ที่รัฐบาลได้ให้นโยบายไว้.........
ทำให้ประชาชนชาว กทม. เกิดความไม่แน่ใจว่า หากไม่มีพงศพัศ แล้ว ประชาชนกทม. จะเข้าถึงแหล่งทุนเล่านั้น ได้ยากส์........ว้า..ว
อีกประการหนึ่ง ที่คุณ สุริยะใส กตะศิลา ตั้งประเด็นสงสัยว่า คำกล่าวของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่ประกาศสนับสนุน นโยบายไร้รอยต่อของท่านพงศพัศ จะส่อว่า ผิดกฎหมายเลือกตั้งหรือไม่ เพราะเป็นการจูงใจให้ประชาชนหลงเชื่อว่า รัฐบาล จะตอบสนองนโยบายต่าง ๆของ ผู้สมัคร ของรัฐบาล ซึ่งน่าจะผิดมาตรา 60 ของ พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หาก ปราศรัยในนาม สมาชิกพรรค เพื่อไทย ก็แล้วไป แต่หากในนาม นายกรัฐมนตรี ก็น่าจะเกิดปัญหา เข้าข่ายผิดกฎหมายขึ้นได้
คนต่างจังหวัด ที่เห็นพ้องด้วยว่า การเลือตั้ง ผู้ว่า ครั้งนี้ เป็นเดิมพัน อนาคตของประเทศ
เพราะ สโลแกนของ พล.ต.อ. พงศพัศ พงษ์เจริญ บอกแก่ชาว กทม. และประชาชนทั้งประเทศ ให้รู้ ตรง ๆว่า “ ไร้รอยต่อ “ ระว่าง ผู้ว่า กทม. กับ รัฐบาล
โดยเฉพาะ ยังมี ท่านนากยกรัฐมนตรี น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และ รัฐมนตรี ในคณะรัฐบาล ได้ออกมาตอกย้ำความจริงในการเอื้อประโยชน์แก่ ผู้สมัคร ฝ่ายพรรคเพื่อไทย ที่ จะมาลบรอยต่อที่มีอยู่นานแล้ว ให้หมดสิ้นไป
ฟังดูเสมือนรับรองว่า หาก คนกทม. เลือกพงศพัศ เป็นผู้ว่า ฯ ก็จะไม่มีใครมาจับคนกรุงเทพเป็นตัวประกันให้เกิดวังวนของ การทะเลาะเบาะแว้ง และความแตกร้าวขึ้นในระหว่าง ประชาชนชาว กทม. กับชาวต่างจังหวัด เช่นที่เป็นมาเมื่อ 3 – 4 ปีก่อนโน้น อีกแล้ว
อีกประเด็นที่น่าสนใจ ร.ท. หญิง สุณิสา กล่าวว่า .......น.ส.ยิ่งลักษณ์ ลงพื้นที่หาเสียงให้ พงศพัศ นั้น ไปในสฐานะ สมาชิกพรรค เพื่อไทย ไม่สามารถใช้อำนาจรัฐ ไปเอาเปรียบผู้สมัคร คนอื่น ๆ ได้ เพราะ อำนาจการจัดการเลือกตั้ง เป็นของ กกต. ไม่ได้อยู่ทีรัฐบาล .......
แต่ ร.ท.สุณิสา ลืมไปว่า การจัดการให้ ไร้รอยต่อ ระหว่าง หน่วยงาน และ ประชาชนนั้น เป็นหน้าที่โดยตรงของรัฐบาลต้องทำทั้ง และต้องไม่เลือกทำเฉพาะ บางพรรค และบางคน รวมไปถึงรัฐบาลต้อง ไม่สร้างรอยแยกให้เพิ่มขึ้นอีกเลย
ที่ ท่านพงศพัศ กล่าว ในการหาเสียง ไว้ว่า โตยจะประสานงานกับรัฐบาลอย่าง ไร้รอยต่อ เพื่อที่จะให้คน กทม.เข้าถึงแหล่งกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนชุมชนเมือง กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หรือกองทุนอื่นใด ที่รัฐบาลได้ให้นโยบายไว้.........
ทำให้ประชาชนชาว กทม. เกิดความไม่แน่ใจว่า หากไม่มีพงศพัศ แล้ว ประชาชนกทม. จะเข้าถึงแหล่งทุนเล่านั้น ได้ยากส์........ว้า..ว
อีกประการหนึ่ง ที่คุณ สุริยะใส กตะศิลา ตั้งประเด็นสงสัยว่า คำกล่าวของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่ประกาศสนับสนุน นโยบายไร้รอยต่อของท่านพงศพัศ จะส่อว่า ผิดกฎหมายเลือกตั้งหรือไม่ เพราะเป็นการจูงใจให้ประชาชนหลงเชื่อว่า รัฐบาล จะตอบสนองนโยบายต่าง ๆของ ผู้สมัคร ของรัฐบาล ซึ่งน่าจะผิดมาตรา 60 ของ พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หาก ปราศรัยในนาม สมาชิกพรรค เพื่อไทย ก็แล้วไป แต่หากในนาม นายกรัฐมนตรี ก็น่าจะเกิดปัญหา เข้าข่ายผิดกฎหมายขึ้นได้