ขอพูดในฐานะคนไทยคนหนึ่งที่เห็นสังคมไทยมานาน ดูข่าวเทีวีช่องหนึ่งที่นำเสนอปัญหาขาดแคลนแพทย์ของโรงพยบาลระดับจังหวัดแห่งหนึ่งที่เป็นจังหวัดไม่ใหญ่นักจังหวัดหนึ่ง ก็เลยสงสัยบริบทสังคมไทยในเวลานี้สมัยเมื่อ 50 ก่วาปีก่อนมมหาวิทยาลัยที่ผลิตอพทย์ออกมารับใช้สังคมรับใช้ประชาชนน่าจะมีไม่กี่แห่ง เข้าใจว่า ณ เวลานี้น่าจะมีมากขึ้นมากทั้งสถานที่มหาลัยและจำนวนที่ผลิตออกมาแต่ละปี ก็เข้าใจว่าสภาพสังคมมันเปลี่ยนแปลงไปแทบทุกมิติแต่เคื่องเจ็บป่วยบริการทางสุขภาพของประชาชนมันค้องให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกๆ(แต่ทำไมบริการทางการแพทย์เอกชนถึงได้ยอมรับว่าระดับโลก) บุคคลากรในด้านนี้ไม่ว่าจะเป็ยระดับผู้บริหารหรือตัวแพทย์เองก็ล้วนแต่บุคตลชั้ยฃนยอดของประเทศ เข้าใจว่าค่านิยมของผู้คนต่างก็มึ่งเน้นที่จะยกระดับตัวเองตะต้องรวยจะต้องครบสมบรูณ์ในชีวิตกันแทบทุกคน จะไปเปนียบคนสมัยก่อนที่มีอุดมการณ์ที่จะสมัยก่อนไม่ได้ ผู้บริหารจะต้องรู้เท่าทันบริบทสังคมในเวลานี้เพื่อจะแก้ไขไม่ใช่ผลิตอพทย์ออกมาเยอะแต่มากระจุกในส่วนกลาง กทม.หรือเอกชนเพราะประเทศไทยยังมีขนชั้นล่างที่ไม่มีความสามารถที่จะเข้าถึงบริการทางแพทย์ระดับ A,B ยังไม่ได้.
ปัจจุบัน“แพทย์”ขาดแคลนในประเทศไทยเหรอ?.