เมื่อเห็นขันธ์ ๕ โดยความไม่เที่ยง ก็ได้เฉพาะซึ่งขันติ (ญาณ) อันเป็นอนุโลม (แก่ การบรรลุอริยมรรค) เมื่อเห็นว่า “ความดับของขันธ์ ๕ เป็นพระนิพพานเที่ยงแท้ ก็ ก้าวลงสู่ สัมมัตตนิยาม (คือ อริยมรรค)” ดังนี้
อธิบายความอาการ ๔๐
(๖๙๘) โยคีผู้นั้นกำหนดรู้ขันธ์ ๕ เหล่านี้อย่างไร ?
แน่ละ ! โยคีผู้นั้นกำหนดรู้ขันธ์หนึ่งๆ (แต่ละขันธ์ ขยายความออกไป) ด้วยการ กำหนดรู้ลักษณะมีอนิจจะ (ความไม่เที่ยง) เป็นต้น ซึ่งท่านกล่าวไว้แล้วโดยประเภท (ต่างๆ) อย่างนี้คือ
โดยไม่เที่ยง ๒. โดยเป็นทุกข์
เพราะไม่เป็นไปเลยที่สุด และเพราะมีต้นมีปลาย
และเพราะเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์
เพราะบีบคั้นเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ
โดยเป็นโรค
เพราะต้องเยียวยาด้วยปัจจัยและเพราะเป็นที่เกิด
ของโรค
๔. โดยเป็นฝี
เพราะประกอบด้วยสิ่งเสียดแทงคือความเป็นทุกข์
เพราะเป็นที่ไหลออกของสิ่งไม่สะอาดคือกิเลส
และเพราะมีการกลัดหนองและสุกแก่แล้วแตกไป
ด้วยความเกิด ความแก่ และความแตกดับ
๕. โดยเป็นลูกศรเสียบ เพราะให้เกิดความบีบคั้น เพราะเป็นสิ่งทิ่มแทงอยู่
๖. โดยความชั่วร้าย
๗. โดยความป่วยไข้
๘. โดยเป็นปรปักษ์
๙. โดยแตกทำลาย
ดูเทียบ ขุ. ป. (ไทย) ๓๑/๒๘/๕๙๙
ภายใน และเพราะเป็นสิ่งที่ถอนออกได้ยาก เพราะเป็นสิ่งควรตำหนิติเตียนเพราะนำมาซึ่งความ เสื่อมเสีย และเพราะเป็นที่ตั้งของความชั่วร้าย เพราะไม่ทำให้เกิดเสรีภาพ และเพราะเป็นปทัฏฐาน ของความเจ็บป่วย
เพราะไม่มีอำนาจ (บังคับบัญชา) และเพราะบังคับ บัญชาไม่ได้
เพราะแตกทำลายไปด้วยพยาธิ ชราและมรณะ
โยคีผู้นั้นกำหนดรู้ขันธ์ ๕ เหล่านี้อย่างไร ?(จากวิสุทธิมรรค)
อธิบายความอาการ ๔๐
(๖๙๘) โยคีผู้นั้นกำหนดรู้ขันธ์ ๕ เหล่านี้อย่างไร ?
แน่ละ ! โยคีผู้นั้นกำหนดรู้ขันธ์หนึ่งๆ (แต่ละขันธ์ ขยายความออกไป) ด้วยการ กำหนดรู้ลักษณะมีอนิจจะ (ความไม่เที่ยง) เป็นต้น ซึ่งท่านกล่าวไว้แล้วโดยประเภท (ต่างๆ) อย่างนี้คือ
โดยไม่เที่ยง ๒. โดยเป็นทุกข์
เพราะไม่เป็นไปเลยที่สุด และเพราะมีต้นมีปลาย
และเพราะเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์
เพราะบีบคั้นเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ
โดยเป็นโรค
เพราะต้องเยียวยาด้วยปัจจัยและเพราะเป็นที่เกิด
ของโรค
๔. โดยเป็นฝี
เพราะประกอบด้วยสิ่งเสียดแทงคือความเป็นทุกข์
เพราะเป็นที่ไหลออกของสิ่งไม่สะอาดคือกิเลส
และเพราะมีการกลัดหนองและสุกแก่แล้วแตกไป
ด้วยความเกิด ความแก่ และความแตกดับ
๕. โดยเป็นลูกศรเสียบ เพราะให้เกิดความบีบคั้น เพราะเป็นสิ่งทิ่มแทงอยู่
๖. โดยความชั่วร้าย
๗. โดยความป่วยไข้
๘. โดยเป็นปรปักษ์
๙. โดยแตกทำลาย
ดูเทียบ ขุ. ป. (ไทย) ๓๑/๒๘/๕๙๙
ภายใน และเพราะเป็นสิ่งที่ถอนออกได้ยาก เพราะเป็นสิ่งควรตำหนิติเตียนเพราะนำมาซึ่งความ เสื่อมเสีย และเพราะเป็นที่ตั้งของความชั่วร้าย เพราะไม่ทำให้เกิดเสรีภาพ และเพราะเป็นปทัฏฐาน ของความเจ็บป่วย
เพราะไม่มีอำนาจ (บังคับบัญชา) และเพราะบังคับ บัญชาไม่ได้
เพราะแตกทำลายไปด้วยพยาธิ ชราและมรณะ