ในมุมมองของ ชาวพุทธ ไม่ค่อยเห็นว่ามีการถกในด้าน การปฏิบัติ ภาวนา ชักเท่าไหร่
ประเด็นส่วนมากที่ยกมา ถก หรือ เถียงกัน ก็หาอ่านได้ตามหนังสือ หรือ เเหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
มันเป็นความรู้ที่เกิดจากการจำ เเต่ น้อยครั้งที่จะมีการพูดถึง สภาวะของการลงมือปฏิบัติจริง
ซึ่งมันเป็นการขั้นตอนพิสูจณ์ คำสอน ที่ง่ายที่สุด มากกว่าการถกเถียงกันเสียอีก
.
.
ว่าด้วยเรื่องของสภาวะที่จิต เข้าไปสู่สภาวะตัวรู้ ในเชิงความรู้สึก
เช่น ประหนึ่ง ว่ามีโดยรอบนั้นราบเรียบเป็นหน้ากลอง เเต่ท่ามกลางนั้นมีอาการรู้ลอยเด่นชัด
หรือ มีอาการรู้เด่นชันผุดขึ้นมา ท่ามกลางทะเลอันไพศาล
โดยผู้ได้สภาวะเเรกเริ่ม ต้องรีบเจริญวสี ทวน การเข้าออก ในทันที
เพราะหากละเลย ไม่ได้เจริญ ให้ชำนาญ ก็มักจะเข้าถึงสภาวะนี้ไม่ได้เลยนับสิบปี
.
.
ผมขอเรียกสภาวะ ลักษณะนี้ว่า อาการที่ความรู้สึกหาประมาณไม่ได้ อาจจะเป็น error ชนิดหนึ่ง
ที่มีอยู่ในธรรมชาติอยู่เเล้ว โดยส่วนตัว ก็พบว่ามีปีติ บ้างชนิด ที่นำพาไปสู่สภาวะ
นี้ได้เช่น ตัวขยายใหญ่ พองโต หากขยายจนความรู้สึกหาประมาณไม่ได้ หรือ สภาวะดิ่งลง
หากดิ่งจนหาที่สุดไม่ได้ ก็จะไปสู่สภาวะที่หาที่กำหนดไม่ได้ เกิดเป็นอาการรู้เดี่ยวขึ้นมา
.
.
เเต่กระนั้น ผมสังเกตุว่า การทำสมาธิ ก็มีอยู่ 2 ลักษณะ คือการ เจริญ (ภาวนา) เเละ ความเคยชิน (ฌาน)
ความเคยชินคืออาการการน้อมนำไปใน เเพทเทรินเดิมๆ มีอาการจมเเช่ จัดอยุ่ในหมวดไหลไปในกระเเส
การเจริญ คือสภาวะ ที่มีการกระตุ้นตัวเองอยู่ตลอดเวลา เช่นอาการรู้ตัวตลอด การคิดค้น จัดอยู่ในหมวดทวนกระเเส
เเต่ผลของสมาธิ พบว่า การเจริญ จะมีกำลังของผลสมาธิ อย่างมีนัยยะสำคัญ
.
.
เเต่กระนั้นการฝึกเพื่อให้เข้าถึง สภาวะรู้เอกเทศ นั้น มีมานานเเล้ว
ในหลายๆ วัฒนาธรรม ก็จะมีการฝึกที่เเตกต่างกันออกไป บางกลุ่มก็อาจจะมีการใช้
สารจากธรรมชาติ เช่นการฝึก มองไขว้ตาไปยังท้องฟ้า ฝึกเพ่งมองในห้องมืด
การทำลักษณะนี้จะทำให้ความรู้สึกเข้าถึงสภาวะหาประมาณไม่ได้
.
.
อัปนาสมาธิ คือ สภาวะจำศีล เอกคตา หรือ จิตรวม กับ อัปนาสมาธิ โดยส่วนตัวเเล้วคือคนละสภาวะ
อัปนาคือ ที่สิ้นสุดของจิต เมื่อเขารู้สภาวะนี้จะไม่รู้สึกอะไรทั้งสิ้น เป็นสภาวะที่ลึกกว่าหลับ
เมื่อโยคี ชำนาญในสภาวะนี้ย่อมนั่งได้ นานนับเดือน นับปี โดยไม่ขยับร่างกาย เเม้
จะอยู่ในที่หนาวเย็น มีหิมะก็ตาม เเต่การหลอมรวมให้เกิดสภาวะนี้ ต้องอาศัยทีสงัด
ไม่ค่อยถูกรบกวนจากผัสสะ สิ่งเร้า เเละหมั่นเจริญอย่างต่อเนื่อง
.
.
เราให้ค่า ของสภาวะ ที่เกิดขึ้นมากไป ประดุจสิ่งวิเศษ เเละมักคุยโว้
เหมือนคนเเก่เหล่าเรื่องประทับใจในอดีตซำไปซ้ำมา โดยที่ไม่ได้มีความเจริญก้าวหน้าทางจิตอีกเลย
การให้ค่าในสภาวะมากเกินไป ก็มักจะทำให้สมาธิเราไม่พัฒนาไปไหน ส่วนใหญ่ยอมรับกันไม่ได้
ถึงเเม้จะเป็นระดับครูบาอาจารย์ก็ตาม ความรู้ก้อปปี้วาง ความรู้เเบบซ้อมบี้ ทำตามๆกัน
มันเกลื่อนครับ หาอ่านที่ไหนก็ได้ ขออะไรที่ไม่เคยได้ยินได้ฟังหน่อยครับ
.
.
ว่าด้วยเรื่อง สภาวะทาง สมาธิ ที่ปรากฏในขณะเจริญกัมมัฏฐาน
ประเด็นส่วนมากที่ยกมา ถก หรือ เถียงกัน ก็หาอ่านได้ตามหนังสือ หรือ เเหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
มันเป็นความรู้ที่เกิดจากการจำ เเต่ น้อยครั้งที่จะมีการพูดถึง สภาวะของการลงมือปฏิบัติจริง
ซึ่งมันเป็นการขั้นตอนพิสูจณ์ คำสอน ที่ง่ายที่สุด มากกว่าการถกเถียงกันเสียอีก
.
.
ว่าด้วยเรื่องของสภาวะที่จิต เข้าไปสู่สภาวะตัวรู้ ในเชิงความรู้สึก
เช่น ประหนึ่ง ว่ามีโดยรอบนั้นราบเรียบเป็นหน้ากลอง เเต่ท่ามกลางนั้นมีอาการรู้ลอยเด่นชัด
หรือ มีอาการรู้เด่นชันผุดขึ้นมา ท่ามกลางทะเลอันไพศาล
โดยผู้ได้สภาวะเเรกเริ่ม ต้องรีบเจริญวสี ทวน การเข้าออก ในทันที
เพราะหากละเลย ไม่ได้เจริญ ให้ชำนาญ ก็มักจะเข้าถึงสภาวะนี้ไม่ได้เลยนับสิบปี
.
.
ผมขอเรียกสภาวะ ลักษณะนี้ว่า อาการที่ความรู้สึกหาประมาณไม่ได้ อาจจะเป็น error ชนิดหนึ่ง
ที่มีอยู่ในธรรมชาติอยู่เเล้ว โดยส่วนตัว ก็พบว่ามีปีติ บ้างชนิด ที่นำพาไปสู่สภาวะ
นี้ได้เช่น ตัวขยายใหญ่ พองโต หากขยายจนความรู้สึกหาประมาณไม่ได้ หรือ สภาวะดิ่งลง
หากดิ่งจนหาที่สุดไม่ได้ ก็จะไปสู่สภาวะที่หาที่กำหนดไม่ได้ เกิดเป็นอาการรู้เดี่ยวขึ้นมา
.
.
เเต่กระนั้น ผมสังเกตุว่า การทำสมาธิ ก็มีอยู่ 2 ลักษณะ คือการ เจริญ (ภาวนา) เเละ ความเคยชิน (ฌาน)
ความเคยชินคืออาการการน้อมนำไปใน เเพทเทรินเดิมๆ มีอาการจมเเช่ จัดอยุ่ในหมวดไหลไปในกระเเส
การเจริญ คือสภาวะ ที่มีการกระตุ้นตัวเองอยู่ตลอดเวลา เช่นอาการรู้ตัวตลอด การคิดค้น จัดอยู่ในหมวดทวนกระเเส
เเต่ผลของสมาธิ พบว่า การเจริญ จะมีกำลังของผลสมาธิ อย่างมีนัยยะสำคัญ
.
.
เเต่กระนั้นการฝึกเพื่อให้เข้าถึง สภาวะรู้เอกเทศ นั้น มีมานานเเล้ว
ในหลายๆ วัฒนาธรรม ก็จะมีการฝึกที่เเตกต่างกันออกไป บางกลุ่มก็อาจจะมีการใช้
สารจากธรรมชาติ เช่นการฝึก มองไขว้ตาไปยังท้องฟ้า ฝึกเพ่งมองในห้องมืด
การทำลักษณะนี้จะทำให้ความรู้สึกเข้าถึงสภาวะหาประมาณไม่ได้
.
.
อัปนาสมาธิ คือ สภาวะจำศีล เอกคตา หรือ จิตรวม กับ อัปนาสมาธิ โดยส่วนตัวเเล้วคือคนละสภาวะ
อัปนาคือ ที่สิ้นสุดของจิต เมื่อเขารู้สภาวะนี้จะไม่รู้สึกอะไรทั้งสิ้น เป็นสภาวะที่ลึกกว่าหลับ
เมื่อโยคี ชำนาญในสภาวะนี้ย่อมนั่งได้ นานนับเดือน นับปี โดยไม่ขยับร่างกาย เเม้
จะอยู่ในที่หนาวเย็น มีหิมะก็ตาม เเต่การหลอมรวมให้เกิดสภาวะนี้ ต้องอาศัยทีสงัด
ไม่ค่อยถูกรบกวนจากผัสสะ สิ่งเร้า เเละหมั่นเจริญอย่างต่อเนื่อง
.
.
เราให้ค่า ของสภาวะ ที่เกิดขึ้นมากไป ประดุจสิ่งวิเศษ เเละมักคุยโว้
เหมือนคนเเก่เหล่าเรื่องประทับใจในอดีตซำไปซ้ำมา โดยที่ไม่ได้มีความเจริญก้าวหน้าทางจิตอีกเลย
การให้ค่าในสภาวะมากเกินไป ก็มักจะทำให้สมาธิเราไม่พัฒนาไปไหน ส่วนใหญ่ยอมรับกันไม่ได้
ถึงเเม้จะเป็นระดับครูบาอาจารย์ก็ตาม ความรู้ก้อปปี้วาง ความรู้เเบบซ้อมบี้ ทำตามๆกัน
มันเกลื่อนครับ หาอ่านที่ไหนก็ได้ ขออะไรที่ไม่เคยได้ยินได้ฟังหน่อยครับ
.
.