ลูกสาวคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล “ผู้พันปราง” พ.ท.หญิง ฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล อาสากลับมาทำงานการเมืองเพื่อแก้ปัญหาอย่างถาวรยั่งยืน ด้วยแนวทาง 9 ส. คือ ทำงานการเมืองอย่างสร้างสรรค์ ส่งเสริมรายได้ประชาชน สนับสนุนการท่องเที่ยว โดยสืบสานแนวทางของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ทั้งด้านการศึกษา เกษตรกรรม และเทคโนโลยี
“ผู้พันปราง” เคยดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยเลขาธิการพรรค และรองเลขาธิการพรรค ของพรรคการเมืองใหญ่อันดับหนึ่งของประเทศมาแล้วถึง 2 พรรค แต่ได้เว้นวรรคทางการเมืองไปชั่วขณะหนึ่งเพราะยึดมั่นแนวทางประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
ครั้งนี้ผู้พันปรางต้องกลับมาทำงานการเมืองอีกหน ด้วยเห็นว่าการทำงานของรัฐบาลในหลายรัฐบาลเป็นเวลาต่อเนื่องกันมากว่า 20 ปี ทุกรัฐบาลไม่สามารถนำพาให้ประเทศพ้นจากปัญหาความยากจนได้ ไม่สามารถสร้างคนในชาติให้เป็นบุคลากรคุณภาพได้ ทั้งที่เคยมีนโยบายชัดเจนในการพัฒนาคน พัฒนาชาติ ซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้วว่า สามารถทำได้ ปฏิบัติได้ และมีผลงานเป็นรูปธรรมมาแล้วในยุคโลกาภิวัตน์
“ผู้พันปราง” ได้นำเสนอแนวนโยบายที่มีความชัดเจน ได้เคยลงมือปฏิบัติจริงมาแล้ว และพิสูจน์ได้ว่าในช่วงดำเนินนโยบายดังกล่าวสามารถกำหนดธงนำเพื่อนำพาประเทศสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนถาวรได้อย่างแท้จริง หากแต่ความยุ่งเหยิงของการเมืองในห้วงเวลาที่ผ่านมา ทำให้บางนโยบายถูกตีความผิดเพี้ยน และบางนโยบายไม่ได้รับการสานต่อ และกลายเป็น 3 ทศวรรษที่หายไปในปัจจุบัน
“ผู้พันปราง” เล่าเรื่องนี้ว่า หลังจากดำรงตำแหน่งโฆษกคนแรกของกระทรวงกลาโหม และสามารถผลักดันนโยบายปฏิรูปกองทัพได้สำเร็จ 3 ประการ คือ
1) ยกเลิกการเกณฑ์ทหารแบบเบ็ดเสร็จ เป็นสมัครใจบางส่วน (ระบบปัจจุบัน)
2) ผลักดันการแต่งตั้ง นายพลหญิง เพื่อความเสมอภาคทางวิชาชีพ โดยมี ท่านผู้หญิง พลตรีหญิง อภิรดี พระพี่เลี้ยง ได้รับแต่งตั้งเป็นนายพลหญิงท่านแรกของประเทศไทย
3) ระเบียบการเกษียณอายุก่อนกำหนดของข้าราชการกระทรวงกลาโหม ตั้งแต่ สิงหาคม 2540
การแก้ปัญหาการจราจรของเมืองหลวง หรือ เมืองโตเดี่ยวเมืองเดียวของประเทศเรา ได้รับการพัฒนาเพียงจังหวัดเดียว ต่างจากจังหวัดที่เหลือ ราวฟ้ากับเหว เพื่อลดความแออัดของการจราจรในกรุงเทพมหานคร คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล เลือกใช้แนวทางกระจายความเจริญ โดยการวางวางระบบการจราจรของประเทศทั้งระบบ เพื่อขยายการพัฒนาไปสู่ทุกภูมิภาค และ ประชาชนทุกท้องถิ่นจะได้รับคุณภาพชีวิตที่ดี โดยไม่ต้องย้ายมาอยู่ในกรุงเทพมหานคร
เบื้องหลังความล้มเหลวของแผนแม่บทแก้ปัญหาการจราจร
แผนแก้ปัญหาจราจรกรุงเทพมหานครและการวางระบบจราจรเพื่อนำพาประเทศสู่ความเจริญนั้นถูกกำหนดเป็นนโยบายมาตั้งแต่ปี 2536 หรือ 3 ทศวรรษหายไป ผู้พันปรางรู้สึกเห็นอกเห็นใจประชาชนและสงสารประเทศชาติมาก
จึงได้สรุปสาเหตุและปัญหา ซึ่งส่งผลให้แผนงานใน 3 ทศวรรษสูญเปล่า คือ
“คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล รองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีชวน 1 ประธานองค์การรถไฟฟ้ามหารนคร (MRT) และ ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ตอบรับเชิญมาแก้ไขปัญหาจราจร เนื่องจากเห็นอกเห็นใจชาวกรุงเทพมหารนครในยุคนั้น เนื่องจากทุกครอบครัวต้องดำเนินชีวิต เช่นเดียวกับครอบครัวกลางถนน หนังสือซึ่งได้รับรางวัล ❝ ซีไรด์ ❞ คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล จึงวางแนวทางการแก้ไขปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานคร ด้วยระบบทางพิเศษใยแมงมุมมหลายร้อยกิโลเมตรบริเวณกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ซึ่งยังไม่แล้วเสร็จ เนื่องจาก 3 ทศวรรษทีหายไป และ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ 27 กันยายน 2537 แผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (MTMP) ระยะทาง 135กิโลเมตรขององค์การรถไฟฟ้ามหานคร(MRT)
และ ระบบขนส่งมวลชนรองเพื่อเข้าสู่ระบบหลาย11 สายระยะทาง206 กิโลเมตรรวมเป็น 341 กิโลเมตร
นอกจากนี้ คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ได้จัดทำแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชน ปี พ.ศ. 2536 ใน 8 เมืองใหญ่ คือ เชียงใหม่ พิษณุโลก ขอนแก่น นครราชสีมา สงขลา ภูเก็ต ฉะเชิงเทรา และชลบุรี เพื่อกระจายความเจริญ และกระจายคน เพื่อลดความเเออัดการจราจรในกรุงเทพมหานครทางอ้อม โดยมีแผนแม่บทรถไฟความเร็วสูง 6 สาย ระยะทางรวม 3,400 กิโลเมตร เชื่อมระหว่างเมืองหลวง และ เมืองเป้าหมาย
และ เป็นปัญหาติดคอรัฐบาลพรรคเพื่อไทยในปัจจุบัน เนื่องจากไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง หลังจากผู้รับสัมปทานตั้งแต่ปี 2562 เริ่มงานไม่ได้ในส่วนของ 3 สนามบิน และต้องแก้ไขสัญญา
โดยปัญสถานการณ์นี้ เคยเกิดกับ BTS ช่วงปี 2535 – 2537 จนกระทั่งมาใช้แผนแม่บทของเราจัดทำให้ MRT เมื่อ 27 กันยายน 2537 โดยขอยกเว้น มติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ 17 พฤษภาคม 2537 เรื่องพื้นที่ที่ ❝ต้อง❞ สร้างระบบใต้ดิน คือ ส่วนกลาง 25 ตารางเมตร และ พื้นที่ ❝ควร❞ สร้างระบบใต้ดิน
คือ 87 ตารางกิโลเมตร #เพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมและลดอุบัติเหตุต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนตั้งแต่เริ่มก่อสร้างถึงต่อเนื่องตลอดอายุการใช้งาน
ปัญหาลาวาลินและโฮปเวลล์รวมถึง BTSในอดีต หรือ ในปัจจุบัน รถไฟ 3 สนามบินล้มเหลว คือปัญหาของแผนแม่บทไม่ใช่สัญญาค่ะ
นอกจากนี้ คุณพ่อยังแนะนำว่า รัฐบาลต้องเร่งรัดเส้นทางทางหลวง สิบสาม สาย ระยะทาง 4,150 กิโลเมตร และทางหลวงเอเชีย สิบสอง เส้นทาง ระยะทางรวม 6,731 กิโลเมตร ซึ่งล่าช้ามาเกือบ 30 ปี ในยุค 3 ทศวรรษที่หายไปของประเทศไทยอันเป็นที่รักของเราทุกคน ทุกสี และ ทุกหมู่เหล่าค่ะ
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพลแนะนำว่า รัฐบาล ต้องดำเนินการเร่งรัดให้เรียบร้อยทั้งระบบ โดยใช้แนวทางซึ่งคุณพ่อสุขวิช ได้ให้ศึกษาและจัดทำไว้เประบบ ตั้งแต่ทางพิเศษรามอินทรา ซึ่งมีทางเลียบด่วน ตามวิสัยทัศน์ของคุณพ่อ ในช่วง 3 ทศวรรษที่หายไป เปลี่ยนจากป่า เป็น Landmark แห่งใหม่ของชาวกรุงเทพมหานคร และ ทางพิเศษบางนาของประเทศไทย สะพานยาวที่สุดในโลก บันทึกตามสถิติโลกกินเนสส์ ได้ดึงดูดชาวโลก มาเยี่ยมชม จนกระทั่งประเทศไทย คลองอันดับ 1 World Destinations ต่อเนื่องหลายสิบปี ตั้งแต่ยุคนั้น ถึงปัจจุบัน หากข้าพเจ้าจำไม่ผิด ปัจจุบันยังคงครองอันดับ 7 ของโลก และ
อันดับหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทั้งนี้ต้องขอขอบคุณกรมทางหลวง ซึ่งมอบที่ดินบนพื้นดินให้เพียง 5 เมตร และ ในอากาศต้องสูงกว่า 17.5 เมตร ส่งผลให้บริษัทสร้างทางยกระดับทั่วโลกไม่สามารถสร้างได้
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล จึงต้องติดต่อ คุณหลุยส์ เบอร์เกอร์ นักออกแบบสะพาน ซึ่งท่านมีปัญหาว่า ไม่มีประสบการณ์สร้างสะพานบนบก ตามวิธีคิดของชาวตะวันตกผู้ต่างจากชาวเอเชีย เพราะไม่สามารถคิดนอกกรอบเป็น หลังจากคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล อรรถาธิบายจนกระทั่งท่านเข้าใจ ชาวไทยและชาวโลกจึงได้ ❝ Bang Na Expressway in Bangkok, Thailand, is not only the longest bridge in the world, but also represents the largest precasting operation ❞
ทางพิเศษบางนาสะพานที่ยาวที่สุดในโลกของประเทศไทยในครั้งนั้น ถูกดำโครงการเพื่อกระจายความเจริญจากเมืองหลวงสู่ภูมิภาคตะวันออก และกระจายรายได้จากนักท่องเที่ยว เช่นเดียวกับประเทศญี่ปุ่นและประเทศจีน ซึ่งมีจากการท่องเที่ยวในทุกภูมิภาคซึ่งระบบขนส่งมวลชนเร็วไปถึง เพื่อบรรเทาปัญหาเศรษฐกิจของคนในภูมิภาคซึ่งไม่ได้รับอานิสงส์จากนักท่องเที่ยวเท่ากับกรุงเทพมหานคร ทั้งที่มีทั้งแหล่งโบราณคดี แหล่งวัฒนธรรม และธรรมชาติสวยงาม มีภูเขา ทะเล น้ำตก และอื่นๆ มากกว่ากรุงเทพมหานครเสียอีกค่ะ
คุณพ่อได้แนะนำให้รัฐบาลไปขอความร่วมมือจากรัฐบาลญี่ปุ่นแทนการใช้งบประมาณจากภาษีของพี่น้องประชาชน โดยเดินทางไปเจรจากับต่างประเทศจัดหาเงินทุนสำหรับโครงการ Land Bridge เช่นเดียวกับสนามบินสุวรรณภูมิในยุคที่ยังใช้ชื่อว่าสนามบินกรุงเทพฯ แห่งที่ 2 ในปี 2539
https://www.jsce.or.jp/e/archive/project/pj17.html
แผ่นที่ระลึกในการลงนามระหว่างรัฐบาลญี่ปุ่นกับรัฐบาลไทยในปี พ.ศ. 2539 โดยให้สนามบินสุวรรณภูมิแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2543 รวมระยะเวลาก่อสร้าง 4 ปี แต่ได้ยืดเยื้อเป็น 10 ปี
ส่งผลให้ประเทศไทยไม่ได้รับความร่วมมือจากญี่ปุ่นในด้านคมนาคมอีกเลยนับตั้งแต่นั้น ยกเว้นโครงการสะพานมิตรภาพไทย – ลาว และ MRT สายสีน้ำเงิน เพราะ MOU ตั้งแต่รัฐบาลนายกรัฐมนตรีชวน 1 แต่ไม่ได้เริ่มต้นตามกำหนดซึ่งควรแล้วเสร็จในปี 2541 ก่อน BTS เนื่องจากแผนแม่บท MRT ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี แต่ BTS ไม่เคยมีแผนแม่บทใดๆ ในที่สุด MRT ต้องเสียส่วนไข่แดงไปให้ผู้รับสัมปทานตามเงื่อนไขของพรรคพลังธรรมในการเข้าร่วมรัฐบาล เมื่อธันวาคม 2537 ส่งผลกำหนดค่าโดยสาร 15 บาทตลอดสายไม่ได้ เนื่องจากไม่ได้รับรายได้ส่วนไข่แดง”
จากแผนพัฒนาจราจรสู่เอเชียนเกมส์และโรงพยาบาลสำคัญของประเทศ
เมื่อการเมืองเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล จึงดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ และ ประธานคณะกรรมการอีกหลายตำแหน่งในยุคปฏิรประเทศไทยถึงโครงสร้างสำเร็จ ด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญ 2540 หรือ รัฐธรรมนูญประชาชนฉบับแรกและฉบับเดียวของประเทศไทย
ในฐานะประธานคณะกรรมการเอเชียนเกมส์ฯ คุณพ่อเสนอให้มอบงบประมาณส่วนที่เหลือจากเมืองทองฯ ให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อสร้างธรรมศาสตร์สปอร์ตคอมเพล็กซ์ และหอพักนักกีฬา ซึ่งต่อมาใช้เป็นหอพักนักศึกษา
พร้อมกับคำขวัญ มิตรภาพไร้พรมแดน (Friendship beyond Frontier)
“คุณพ่อเป็นศิษย์เก่าคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นแรกที่ต้องสอบเข้าเรียน หม่อมเจ้าลักษณเลิศ ชยางกูร ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะรัฐศาสตร์ในขณะนั้น และมีฐานะเป็นลุงเขยของคุณพ่อ แนะนำให้ไปสอบเข้าเรียนเป็นรุ่นแรกให้ได้ โดยท่านปู่ลักษณเลิศสังเกตเห็นความเฉลียวฉลาดและไหวพริบของคุณพ่อตั้งแต่เด็ก ต้องการให้คุณพ่อรับราชการในสังกัดมหาดไทย ช่วยพัฒนาชนบทไทยซึ่งยังคงยากจน ล้าหลังอยู่มากในยุคนั้น และต้องการคนเก่ง คนดี มีความสามารถ ซื่อสัตย์สุจริต อย่างหลานชายซึ่งท่านช่วยดูแลมาตั้งแต่กำเนิดเนื่องจากกำพร้าบิดา
ช่วงรอการเปิดสอบเป็นปลัดอำเภอ คุณพ่อมีโอกาสฝึกงานกับบรรษัทข้ามชาติสัญชาติอเมริกัน คือ กลุ่มผู้ผลิตและค้าน้ำมัน คาลเท็กซ์ ซึ่งในขณะนั้นได้ร่วมกับ Thai Oil ก่อตั้งโรงกลั่นน้ำมันที่ ศรีราชา เป็นโครงการ Mega Project ของนายเชาว์ เชาว์ขวัญยืน (บิดาของนายบางกอก เชาว์ขวัญยืน ผู้ก่อตั้งไทยออยล์)
โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดต้นทุนการนำเข้าน้ำมันดิบจากตะวันออกกลาง ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงพลังงานราคาถูก จึงมีโครงการขุดคลองคอดกระเพื่อลดค่าขนส่งน้ำมันจากตะวันออกกลาง ระหว่างนั้นผู้บริหารขอให้คุณพ่อเข้าร่วมงานกับกลุ่ม คาลเท็กซ์ โดยให้เหตุผลว่าการนำพลังงานราคาถูกมาให้ประชาชนทั้งประเทศใช้ เท่ากับได้ช่วยประชาชนทั้งประเทศ ให้ลำบากน้อยลง ช่วยประชาชนได้นับล้าน จำนวนมากกว่าช่วยเหลือประชาชนในอำเภอเล็กๆ ในฐานะปลัดหลายเท่าตัว คุณพ่อจึงเข้าร่วมงานกับ คาลเท็กซ์ ตั้งแต่ตอนนั้น
และในช่วงเวลากว่า 32 ปี คุณพ่อนำพา คาลเท็กซ์ ผ่านวิกฤตจากภัยคอมมิวนิสต์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมมือกับรัฐบาลในการแก้ไขวิกฤตการณ์น้ำมัน 2 ครั้ง และ คาลเท็กซ์ เป็นสถานีบริการน้ำมันแห่งแรก ได้รับอนุมัติจากรัฐบาลให้เปิดร้านสะดวกซื้อ และคุณพ่อสมนาคุณลูกค้าด้วยห้องน้ำสะอาดติดแอร์เพื่อบริการประชาชนเป็นแบรนด์แรกในประเทศไทยด้วยค่ะ
นอกจากนี้ คุณพ่อริเริ่มก่อตั้งโรงกลั่นแห่งที่ 4 ของประเทศไทย หรือ SPRC โดยมีปรัชญาว่า ทุกคนในประเทศ คือครอบครัว และในปัจจุบันเป็นบริษัทซึ่งได้รับการยอมรับว่าดูแลพนักงานดีเป็นอันดับต้นๆ ในระยอง และมีการแข่งขันสูงมากเพื่อเข้าเป็นพนักงาน
คุณพ่อคือ ชาวเอเชียคนแรก ผู้ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดของบรรษัทข้ามชาติยักษ์ใหญ่ระดับโลก สัญชาติอเมริกัน หรือ CEO ของ คาลเท็กซ์ เพราะคนอเมริกันในอดีต มีความเชื่อว่า คนผิวขาวมีความสามารถมากกว่าเผ่าพันธุ์อื่น
❝ ลูกสาว คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ❞ พันโทหญิง ฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล - ผู้พันปราง ลูกไม้ใต้ต้น (1)
“ผู้พันปราง” เคยดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยเลขาธิการพรรค และรองเลขาธิการพรรค ของพรรคการเมืองใหญ่อันดับหนึ่งของประเทศมาแล้วถึง 2 พรรค แต่ได้เว้นวรรคทางการเมืองไปชั่วขณะหนึ่งเพราะยึดมั่นแนวทางประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
ครั้งนี้ผู้พันปรางต้องกลับมาทำงานการเมืองอีกหน ด้วยเห็นว่าการทำงานของรัฐบาลในหลายรัฐบาลเป็นเวลาต่อเนื่องกันมากว่า 20 ปี ทุกรัฐบาลไม่สามารถนำพาให้ประเทศพ้นจากปัญหาความยากจนได้ ไม่สามารถสร้างคนในชาติให้เป็นบุคลากรคุณภาพได้ ทั้งที่เคยมีนโยบายชัดเจนในการพัฒนาคน พัฒนาชาติ ซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้วว่า สามารถทำได้ ปฏิบัติได้ และมีผลงานเป็นรูปธรรมมาแล้วในยุคโลกาภิวัตน์
“ผู้พันปราง” ได้นำเสนอแนวนโยบายที่มีความชัดเจน ได้เคยลงมือปฏิบัติจริงมาแล้ว และพิสูจน์ได้ว่าในช่วงดำเนินนโยบายดังกล่าวสามารถกำหนดธงนำเพื่อนำพาประเทศสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนถาวรได้อย่างแท้จริง หากแต่ความยุ่งเหยิงของการเมืองในห้วงเวลาที่ผ่านมา ทำให้บางนโยบายถูกตีความผิดเพี้ยน และบางนโยบายไม่ได้รับการสานต่อ และกลายเป็น 3 ทศวรรษที่หายไปในปัจจุบัน
“ผู้พันปราง” เล่าเรื่องนี้ว่า หลังจากดำรงตำแหน่งโฆษกคนแรกของกระทรวงกลาโหม และสามารถผลักดันนโยบายปฏิรูปกองทัพได้สำเร็จ 3 ประการ คือ
1) ยกเลิกการเกณฑ์ทหารแบบเบ็ดเสร็จ เป็นสมัครใจบางส่วน (ระบบปัจจุบัน)
2) ผลักดันการแต่งตั้ง นายพลหญิง เพื่อความเสมอภาคทางวิชาชีพ โดยมี ท่านผู้หญิง พลตรีหญิง อภิรดี พระพี่เลี้ยง ได้รับแต่งตั้งเป็นนายพลหญิงท่านแรกของประเทศไทย
3) ระเบียบการเกษียณอายุก่อนกำหนดของข้าราชการกระทรวงกลาโหม ตั้งแต่ สิงหาคม 2540
การแก้ปัญหาการจราจรของเมืองหลวง หรือ เมืองโตเดี่ยวเมืองเดียวของประเทศเรา ได้รับการพัฒนาเพียงจังหวัดเดียว ต่างจากจังหวัดที่เหลือ ราวฟ้ากับเหว เพื่อลดความแออัดของการจราจรในกรุงเทพมหานคร คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล เลือกใช้แนวทางกระจายความเจริญ โดยการวางวางระบบการจราจรของประเทศทั้งระบบ เพื่อขยายการพัฒนาไปสู่ทุกภูมิภาค และ ประชาชนทุกท้องถิ่นจะได้รับคุณภาพชีวิตที่ดี โดยไม่ต้องย้ายมาอยู่ในกรุงเทพมหานคร
เบื้องหลังความล้มเหลวของแผนแม่บทแก้ปัญหาการจราจร
แผนแก้ปัญหาจราจรกรุงเทพมหานครและการวางระบบจราจรเพื่อนำพาประเทศสู่ความเจริญนั้นถูกกำหนดเป็นนโยบายมาตั้งแต่ปี 2536 หรือ 3 ทศวรรษหายไป ผู้พันปรางรู้สึกเห็นอกเห็นใจประชาชนและสงสารประเทศชาติมาก
จึงได้สรุปสาเหตุและปัญหา ซึ่งส่งผลให้แผนงานใน 3 ทศวรรษสูญเปล่า คือ
“คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล รองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีชวน 1 ประธานองค์การรถไฟฟ้ามหารนคร (MRT) และ ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ตอบรับเชิญมาแก้ไขปัญหาจราจร เนื่องจากเห็นอกเห็นใจชาวกรุงเทพมหารนครในยุคนั้น เนื่องจากทุกครอบครัวต้องดำเนินชีวิต เช่นเดียวกับครอบครัวกลางถนน หนังสือซึ่งได้รับรางวัล ❝ ซีไรด์ ❞ คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล จึงวางแนวทางการแก้ไขปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานคร ด้วยระบบทางพิเศษใยแมงมุมมหลายร้อยกิโลเมตรบริเวณกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ซึ่งยังไม่แล้วเสร็จ เนื่องจาก 3 ทศวรรษทีหายไป และ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ 27 กันยายน 2537 แผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (MTMP) ระยะทาง 135กิโลเมตรขององค์การรถไฟฟ้ามหานคร(MRT)
และ ระบบขนส่งมวลชนรองเพื่อเข้าสู่ระบบหลาย11 สายระยะทาง206 กิโลเมตรรวมเป็น 341 กิโลเมตร
นอกจากนี้ คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ได้จัดทำแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชน ปี พ.ศ. 2536 ใน 8 เมืองใหญ่ คือ เชียงใหม่ พิษณุโลก ขอนแก่น นครราชสีมา สงขลา ภูเก็ต ฉะเชิงเทรา และชลบุรี เพื่อกระจายความเจริญ และกระจายคน เพื่อลดความเเออัดการจราจรในกรุงเทพมหานครทางอ้อม โดยมีแผนแม่บทรถไฟความเร็วสูง 6 สาย ระยะทางรวม 3,400 กิโลเมตร เชื่อมระหว่างเมืองหลวง และ เมืองเป้าหมาย
และ เป็นปัญหาติดคอรัฐบาลพรรคเพื่อไทยในปัจจุบัน เนื่องจากไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง หลังจากผู้รับสัมปทานตั้งแต่ปี 2562 เริ่มงานไม่ได้ในส่วนของ 3 สนามบิน และต้องแก้ไขสัญญา
โดยปัญสถานการณ์นี้ เคยเกิดกับ BTS ช่วงปี 2535 – 2537 จนกระทั่งมาใช้แผนแม่บทของเราจัดทำให้ MRT เมื่อ 27 กันยายน 2537 โดยขอยกเว้น มติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ 17 พฤษภาคม 2537 เรื่องพื้นที่ที่ ❝ต้อง❞ สร้างระบบใต้ดิน คือ ส่วนกลาง 25 ตารางเมตร และ พื้นที่ ❝ควร❞ สร้างระบบใต้ดิน
คือ 87 ตารางกิโลเมตร #เพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมและลดอุบัติเหตุต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนตั้งแต่เริ่มก่อสร้างถึงต่อเนื่องตลอดอายุการใช้งาน
ปัญหาลาวาลินและโฮปเวลล์รวมถึง BTSในอดีต หรือ ในปัจจุบัน รถไฟ 3 สนามบินล้มเหลว คือปัญหาของแผนแม่บทไม่ใช่สัญญาค่ะ
นอกจากนี้ คุณพ่อยังแนะนำว่า รัฐบาลต้องเร่งรัดเส้นทางทางหลวง สิบสาม สาย ระยะทาง 4,150 กิโลเมตร และทางหลวงเอเชีย สิบสอง เส้นทาง ระยะทางรวม 6,731 กิโลเมตร ซึ่งล่าช้ามาเกือบ 30 ปี ในยุค 3 ทศวรรษที่หายไปของประเทศไทยอันเป็นที่รักของเราทุกคน ทุกสี และ ทุกหมู่เหล่าค่ะ
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพลแนะนำว่า รัฐบาล ต้องดำเนินการเร่งรัดให้เรียบร้อยทั้งระบบ โดยใช้แนวทางซึ่งคุณพ่อสุขวิช ได้ให้ศึกษาและจัดทำไว้เประบบ ตั้งแต่ทางพิเศษรามอินทรา ซึ่งมีทางเลียบด่วน ตามวิสัยทัศน์ของคุณพ่อ ในช่วง 3 ทศวรรษที่หายไป เปลี่ยนจากป่า เป็น Landmark แห่งใหม่ของชาวกรุงเทพมหานคร และ ทางพิเศษบางนาของประเทศไทย สะพานยาวที่สุดในโลก บันทึกตามสถิติโลกกินเนสส์ ได้ดึงดูดชาวโลก มาเยี่ยมชม จนกระทั่งประเทศไทย คลองอันดับ 1 World Destinations ต่อเนื่องหลายสิบปี ตั้งแต่ยุคนั้น ถึงปัจจุบัน หากข้าพเจ้าจำไม่ผิด ปัจจุบันยังคงครองอันดับ 7 ของโลก และ
อันดับหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทั้งนี้ต้องขอขอบคุณกรมทางหลวง ซึ่งมอบที่ดินบนพื้นดินให้เพียง 5 เมตร และ ในอากาศต้องสูงกว่า 17.5 เมตร ส่งผลให้บริษัทสร้างทางยกระดับทั่วโลกไม่สามารถสร้างได้
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล จึงต้องติดต่อ คุณหลุยส์ เบอร์เกอร์ นักออกแบบสะพาน ซึ่งท่านมีปัญหาว่า ไม่มีประสบการณ์สร้างสะพานบนบก ตามวิธีคิดของชาวตะวันตกผู้ต่างจากชาวเอเชีย เพราะไม่สามารถคิดนอกกรอบเป็น หลังจากคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล อรรถาธิบายจนกระทั่งท่านเข้าใจ ชาวไทยและชาวโลกจึงได้ ❝ Bang Na Expressway in Bangkok, Thailand, is not only the longest bridge in the world, but also represents the largest precasting operation ❞
ทางพิเศษบางนาสะพานที่ยาวที่สุดในโลกของประเทศไทยในครั้งนั้น ถูกดำโครงการเพื่อกระจายความเจริญจากเมืองหลวงสู่ภูมิภาคตะวันออก และกระจายรายได้จากนักท่องเที่ยว เช่นเดียวกับประเทศญี่ปุ่นและประเทศจีน ซึ่งมีจากการท่องเที่ยวในทุกภูมิภาคซึ่งระบบขนส่งมวลชนเร็วไปถึง เพื่อบรรเทาปัญหาเศรษฐกิจของคนในภูมิภาคซึ่งไม่ได้รับอานิสงส์จากนักท่องเที่ยวเท่ากับกรุงเทพมหานคร ทั้งที่มีทั้งแหล่งโบราณคดี แหล่งวัฒนธรรม และธรรมชาติสวยงาม มีภูเขา ทะเล น้ำตก และอื่นๆ มากกว่ากรุงเทพมหานครเสียอีกค่ะ
คุณพ่อได้แนะนำให้รัฐบาลไปขอความร่วมมือจากรัฐบาลญี่ปุ่นแทนการใช้งบประมาณจากภาษีของพี่น้องประชาชน โดยเดินทางไปเจรจากับต่างประเทศจัดหาเงินทุนสำหรับโครงการ Land Bridge เช่นเดียวกับสนามบินสุวรรณภูมิในยุคที่ยังใช้ชื่อว่าสนามบินกรุงเทพฯ แห่งที่ 2 ในปี 2539 https://www.jsce.or.jp/e/archive/project/pj17.html
แผ่นที่ระลึกในการลงนามระหว่างรัฐบาลญี่ปุ่นกับรัฐบาลไทยในปี พ.ศ. 2539 โดยให้สนามบินสุวรรณภูมิแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2543 รวมระยะเวลาก่อสร้าง 4 ปี แต่ได้ยืดเยื้อเป็น 10 ปี
ส่งผลให้ประเทศไทยไม่ได้รับความร่วมมือจากญี่ปุ่นในด้านคมนาคมอีกเลยนับตั้งแต่นั้น ยกเว้นโครงการสะพานมิตรภาพไทย – ลาว และ MRT สายสีน้ำเงิน เพราะ MOU ตั้งแต่รัฐบาลนายกรัฐมนตรีชวน 1 แต่ไม่ได้เริ่มต้นตามกำหนดซึ่งควรแล้วเสร็จในปี 2541 ก่อน BTS เนื่องจากแผนแม่บท MRT ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี แต่ BTS ไม่เคยมีแผนแม่บทใดๆ ในที่สุด MRT ต้องเสียส่วนไข่แดงไปให้ผู้รับสัมปทานตามเงื่อนไขของพรรคพลังธรรมในการเข้าร่วมรัฐบาล เมื่อธันวาคม 2537 ส่งผลกำหนดค่าโดยสาร 15 บาทตลอดสายไม่ได้ เนื่องจากไม่ได้รับรายได้ส่วนไข่แดง”
จากแผนพัฒนาจราจรสู่เอเชียนเกมส์และโรงพยาบาลสำคัญของประเทศ
เมื่อการเมืองเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล จึงดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ และ ประธานคณะกรรมการอีกหลายตำแหน่งในยุคปฏิรประเทศไทยถึงโครงสร้างสำเร็จ ด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญ 2540 หรือ รัฐธรรมนูญประชาชนฉบับแรกและฉบับเดียวของประเทศไทย
ในฐานะประธานคณะกรรมการเอเชียนเกมส์ฯ คุณพ่อเสนอให้มอบงบประมาณส่วนที่เหลือจากเมืองทองฯ ให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อสร้างธรรมศาสตร์สปอร์ตคอมเพล็กซ์ และหอพักนักกีฬา ซึ่งต่อมาใช้เป็นหอพักนักศึกษา
พร้อมกับคำขวัญ มิตรภาพไร้พรมแดน (Friendship beyond Frontier)
“คุณพ่อเป็นศิษย์เก่าคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นแรกที่ต้องสอบเข้าเรียน หม่อมเจ้าลักษณเลิศ ชยางกูร ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะรัฐศาสตร์ในขณะนั้น และมีฐานะเป็นลุงเขยของคุณพ่อ แนะนำให้ไปสอบเข้าเรียนเป็นรุ่นแรกให้ได้ โดยท่านปู่ลักษณเลิศสังเกตเห็นความเฉลียวฉลาดและไหวพริบของคุณพ่อตั้งแต่เด็ก ต้องการให้คุณพ่อรับราชการในสังกัดมหาดไทย ช่วยพัฒนาชนบทไทยซึ่งยังคงยากจน ล้าหลังอยู่มากในยุคนั้น และต้องการคนเก่ง คนดี มีความสามารถ ซื่อสัตย์สุจริต อย่างหลานชายซึ่งท่านช่วยดูแลมาตั้งแต่กำเนิดเนื่องจากกำพร้าบิดา
ช่วงรอการเปิดสอบเป็นปลัดอำเภอ คุณพ่อมีโอกาสฝึกงานกับบรรษัทข้ามชาติสัญชาติอเมริกัน คือ กลุ่มผู้ผลิตและค้าน้ำมัน คาลเท็กซ์ ซึ่งในขณะนั้นได้ร่วมกับ Thai Oil ก่อตั้งโรงกลั่นน้ำมันที่ ศรีราชา เป็นโครงการ Mega Project ของนายเชาว์ เชาว์ขวัญยืน (บิดาของนายบางกอก เชาว์ขวัญยืน ผู้ก่อตั้งไทยออยล์)
โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดต้นทุนการนำเข้าน้ำมันดิบจากตะวันออกกลาง ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงพลังงานราคาถูก จึงมีโครงการขุดคลองคอดกระเพื่อลดค่าขนส่งน้ำมันจากตะวันออกกลาง ระหว่างนั้นผู้บริหารขอให้คุณพ่อเข้าร่วมงานกับกลุ่ม คาลเท็กซ์ โดยให้เหตุผลว่าการนำพลังงานราคาถูกมาให้ประชาชนทั้งประเทศใช้ เท่ากับได้ช่วยประชาชนทั้งประเทศ ให้ลำบากน้อยลง ช่วยประชาชนได้นับล้าน จำนวนมากกว่าช่วยเหลือประชาชนในอำเภอเล็กๆ ในฐานะปลัดหลายเท่าตัว คุณพ่อจึงเข้าร่วมงานกับ คาลเท็กซ์ ตั้งแต่ตอนนั้น
และในช่วงเวลากว่า 32 ปี คุณพ่อนำพา คาลเท็กซ์ ผ่านวิกฤตจากภัยคอมมิวนิสต์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมมือกับรัฐบาลในการแก้ไขวิกฤตการณ์น้ำมัน 2 ครั้ง และ คาลเท็กซ์ เป็นสถานีบริการน้ำมันแห่งแรก ได้รับอนุมัติจากรัฐบาลให้เปิดร้านสะดวกซื้อ และคุณพ่อสมนาคุณลูกค้าด้วยห้องน้ำสะอาดติดแอร์เพื่อบริการประชาชนเป็นแบรนด์แรกในประเทศไทยด้วยค่ะ
นอกจากนี้ คุณพ่อริเริ่มก่อตั้งโรงกลั่นแห่งที่ 4 ของประเทศไทย หรือ SPRC โดยมีปรัชญาว่า ทุกคนในประเทศ คือครอบครัว และในปัจจุบันเป็นบริษัทซึ่งได้รับการยอมรับว่าดูแลพนักงานดีเป็นอันดับต้นๆ ในระยอง และมีการแข่งขันสูงมากเพื่อเข้าเป็นพนักงาน
คุณพ่อคือ ชาวเอเชียคนแรก ผู้ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดของบรรษัทข้ามชาติยักษ์ใหญ่ระดับโลก สัญชาติอเมริกัน หรือ CEO ของ คาลเท็กซ์ เพราะคนอเมริกันในอดีต มีความเชื่อว่า คนผิวขาวมีความสามารถมากกว่าเผ่าพันธุ์อื่น