ผลงานแก้ไขปัญหาจราจร เพราะได้รับเชิญจากพรรคที่ 3 แก้ไขปัญหาจราจร
คุณพ่อสุขวิช เชื่อว่า การแก้ปัญหาจราจรกรุงเทพมหานครต้องมีทั้ง ❝ถนนขนรถ(สินค้าอุปโภค บริโภค ให้ประชาชน) รถขนคน เพื่อความสุขของคนกรุงเทพมหานครค่ะ ❞
❝ระบบถนนขนรถ❞
1) แผนแม่บททางด่วน 300 กิโลเมตร โดยการทางพิเศษดำเนินการเอง เพื่อลดต้นทุน รวดเร็ว และ ไม่มีปัญหาเรื่องสัมปทานตามรอยทางด่วนขั้นที่2
* ทางด่วนต้องมีทางเลียบ เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชน และ ไม่สร้างสลัมใหม่ใต้ทางด่วน
* ทางด่วนบางนา ค่าก่อสร้าง มาตรฐานโลกคือกิโลเมตรละ400 กว่าล้าน (ทางด่วนขั้นที่2 สมัยพลเอกชาติชาย ราคาประมาณกิโลเมตรละ1200 ล้าน แพงที่สุดในโลก และ ส่งผลถึงค่าทางด่วนในปัจจุบัน)
❝ระบบรถขนคน❞
2) แผนแม่บทรถไฟฟ้ามหานคร 300 กิโลเมตร
* ใช้ระบบวางรางบนดินดาน
* ป้องกันปัญหาน้ำท่วม ตามรูป
การผลักดันแผนแม่บทรถไฟฟ้ามหานคร ช่วงใต้ดิน ถูกต่อต้านมาก ด้วยเหตุผลกรุงเทพมหานครดินอ่อน และ น้ำท่วม กว่าเราจะแก้ไขปัญหาได้ กรุงเทพมหานครได้ให้สัมปทาน BTS ในช่วงซึ่งคณะกรรมการจราจรทางบกศึกษาแล้วว่าจะมีผู้โดยสารมาที่สุด และคุ้มทุนไปแล้ว
อย่างไรก้อตาม การใช้เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ จึงไม่ติดปัญหางบประมาณ และ ระบบขนส่งมวลชนโครงการที่4 ของกรุงเทพมหานครเกิดขึ้น ถึงแม้จะไม่ได้สร้างเสร็จทั้งระบบภายใน5 ปี 2537-2542 ตามวัตถุประสงค์เดิม
ข้าพเจ้าไม่มีข้อมูลเรื่องค่าก่อสร้าง แต่ตามหลักแล้วน่าจะคืนทุนพร้อมกำไรใน30 ปี(ระยะเวลาการให้สัมปทาน) โครงการนี้รัฐลงทุนเอง จึงน่าจะคุ้มทุนใน15ปี และ ควรเรียกเก็บค่าโดยสาร โดยไม่คำนึงถึงถึงกำไรได้ค่ะ
ประวัติศาสตร์ การเก้ไขปัญหาจราจร ของกรุงเทพมหานคร
ผลงานแก้ไขปัญหาจราจร เพราะได้รับเชิญจากพรรคที่ 3 แก้ไขปัญหาจราจร
คุณพ่อสุขวิช เชื่อว่า การแก้ปัญหาจราจรกรุงเทพมหานครต้องมีทั้ง ❝ถนนขนรถ(สินค้าอุปโภค บริโภค ให้ประชาชน) รถขนคน เพื่อความสุขของคนกรุงเทพมหานครค่ะ ❞
❝ระบบถนนขนรถ❞
1) แผนแม่บททางด่วน 300 กิโลเมตร โดยการทางพิเศษดำเนินการเอง เพื่อลดต้นทุน รวดเร็ว และ ไม่มีปัญหาเรื่องสัมปทานตามรอยทางด่วนขั้นที่2
* ทางด่วนต้องมีทางเลียบ เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชน และ ไม่สร้างสลัมใหม่ใต้ทางด่วน
* ทางด่วนบางนา ค่าก่อสร้าง มาตรฐานโลกคือกิโลเมตรละ400 กว่าล้าน (ทางด่วนขั้นที่2 สมัยพลเอกชาติชาย ราคาประมาณกิโลเมตรละ1200 ล้าน แพงที่สุดในโลก และ ส่งผลถึงค่าทางด่วนในปัจจุบัน)
❝ระบบรถขนคน❞
2) แผนแม่บทรถไฟฟ้ามหานคร 300 กิโลเมตร
* ใช้ระบบวางรางบนดินดาน
* ป้องกันปัญหาน้ำท่วม ตามรูป
การผลักดันแผนแม่บทรถไฟฟ้ามหานคร ช่วงใต้ดิน ถูกต่อต้านมาก ด้วยเหตุผลกรุงเทพมหานครดินอ่อน และ น้ำท่วม กว่าเราจะแก้ไขปัญหาได้ กรุงเทพมหานครได้ให้สัมปทาน BTS ในช่วงซึ่งคณะกรรมการจราจรทางบกศึกษาแล้วว่าจะมีผู้โดยสารมาที่สุด และคุ้มทุนไปแล้ว
อย่างไรก้อตาม การใช้เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ จึงไม่ติดปัญหางบประมาณ และ ระบบขนส่งมวลชนโครงการที่4 ของกรุงเทพมหานครเกิดขึ้น ถึงแม้จะไม่ได้สร้างเสร็จทั้งระบบภายใน5 ปี 2537-2542 ตามวัตถุประสงค์เดิม
ข้าพเจ้าไม่มีข้อมูลเรื่องค่าก่อสร้าง แต่ตามหลักแล้วน่าจะคืนทุนพร้อมกำไรใน30 ปี(ระยะเวลาการให้สัมปทาน) โครงการนี้รัฐลงทุนเอง จึงน่าจะคุ้มทุนใน15ปี และ ควรเรียกเก็บค่าโดยสาร โดยไม่คำนึงถึงถึงกำไรได้ค่ะ