CR : ME Center คลินิกสมองและสุขภาพจิต
TMS ( Transcranial Magnetic Stimulation)
เทคโนโลยีในการกระตุ้นสมองและระบบประสาทด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าโดยไม่ต้องผ่าตัด ช่วยให้สมองหลั่งสารสื่อประสาทที่จำเป็นต่อการซ่อมแซมระบบประสาทภายในสมองของผู้ป่วย
✅ช่วยลดอาการและความรุนแรงในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
เป็นทางเลือกในการรักษาโรคซึมเศร้าที่รักษาด้วยยาแล้วไม่ตอบสนองเท่าที่ควร
✅โรคย้ำคิดย้ำทำ
(Obsessive Compulsive Disorder ; OCD)
✅เป็นทางเลือกในการฟื้นฟูการทำงานของสมองในผู้ป่วย
ที่มีภาวะความจำถดถอยจากโรคอัลไซเมอร์ กระตุ้นความจำในผู้ป่วยความจำเสื่อม
✅การฟื้นฟูหลังจากภาวะโรคหลอดเลือดสมอง
ส่งผลดีขึ้นทั้งเรื่องการเคลื่อนไหว การพูด การกลืน และเพิ่มการเคลื่อนไหวของมือได้ดีขึ้น
✅ช่วยในการฟื้นฟูผู้ป่วยที่มีภาวะชาอ่อนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
✅ช่วยลดและป้องกันการปวดศีรษะเรื้อรัง
การปวดไมเกรน
การรักษาด้วย TMS มีผลข้างเคียงต่ำ
ผู้ป่วยอาจจะรู้สึกเจ็บเล็กน้อยบริเวณหนังศีรษะที่ได้รับการกระตุ้นหรือปวดศีรษะ แต่อยู่ในระดับที่ทนได้ ซึ่งสามารถบรรเทาได้ด้วยการทานยาแก้ปวด
และอาการปวดเหล่านี้จะลดลงเรื่อย ๆ โดยแพทย์จะติดตามอาการและปรับค่าของการกระตุ้นเพื่อช่วยลดอาการข้างเคียง แต่ยังคงได้ผลต่อการรักษา
TMS ( Transcranial Magnetic Stimulation) เทคโนโลยีในการกระตุ้นสมองและระบบประสาท
TMS ( Transcranial Magnetic Stimulation)
เทคโนโลยีในการกระตุ้นสมองและระบบประสาทด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าโดยไม่ต้องผ่าตัด ช่วยให้สมองหลั่งสารสื่อประสาทที่จำเป็นต่อการซ่อมแซมระบบประสาทภายในสมองของผู้ป่วย
✅ช่วยลดอาการและความรุนแรงในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
เป็นทางเลือกในการรักษาโรคซึมเศร้าที่รักษาด้วยยาแล้วไม่ตอบสนองเท่าที่ควร
✅โรคย้ำคิดย้ำทำ
(Obsessive Compulsive Disorder ; OCD)
✅เป็นทางเลือกในการฟื้นฟูการทำงานของสมองในผู้ป่วย
ที่มีภาวะความจำถดถอยจากโรคอัลไซเมอร์ กระตุ้นความจำในผู้ป่วยความจำเสื่อม
✅การฟื้นฟูหลังจากภาวะโรคหลอดเลือดสมอง
ส่งผลดีขึ้นทั้งเรื่องการเคลื่อนไหว การพูด การกลืน และเพิ่มการเคลื่อนไหวของมือได้ดีขึ้น
✅ช่วยในการฟื้นฟูผู้ป่วยที่มีภาวะชาอ่อนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
✅ช่วยลดและป้องกันการปวดศีรษะเรื้อรัง
การปวดไมเกรน
ผู้ป่วยอาจจะรู้สึกเจ็บเล็กน้อยบริเวณหนังศีรษะที่ได้รับการกระตุ้นหรือปวดศีรษะ แต่อยู่ในระดับที่ทนได้ ซึ่งสามารถบรรเทาได้ด้วยการทานยาแก้ปวด
และอาการปวดเหล่านี้จะลดลงเรื่อย ๆ โดยแพทย์จะติดตามอาการและปรับค่าของการกระตุ้นเพื่อช่วยลดอาการข้างเคียง แต่ยังคงได้ผลต่อการรักษา