เมื่อกล่าวตามธรรมของพระพุทธเจ้า... ศึกษาและปฏิบัติธรรมเพื่อ เห็นทุกข์
ซึ่งจะแตกธรรมออกมาหลายนัยยะ ดังนี้.
- เมื่อเห็นทุกข์ ย่อมเห็น ทุกขัง อันตั้งทรงอยู่ไม่ได้ ย่อมเห็น อนิจจัง อันไม่เที่ยงเปลี่ยนแปลงไป ก็ย่อมเห็นว่าแม้แต่ กาย-ใจ(จิต) ยึดถือเป็นตัวเป็นของตนก็ไม่ได้เป็นไปตามเหตุ-ปัจจัย ด้วยความไม่เที่ยง ย่อมเกิดปัญญาเห็นว่า สัพเพ ธัมมา อภินิเวเสยะ (ธรรมทั้งปวงยึดมั่นถือมั่นไม่ได้) จึงเห็นธรรม(สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ) ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา.
- ผู้ใดเห็นทุกข์ ผู้นั้นเห็นธรรม
- ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นคถาคต(พระพุทธเจ้า)
หมายเหตุ การเป็นทุกข์ กับ การเห็นทุกข์ นั้นแตกต่างกัน เพราะปุถุชน เมื่อเป็นทุกข์ ย่อมไม่เห็นทุกข์ด้วยปัญญาตามธรรมตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว.
หรือกล่าวในอีกนัยยะ - ผู้มีปัญญาแม้ไม่เป็นทุกข์ แต่เห็นทุกข์ได้.
เมื่อกล่าวตามธรรมของพระพุทธเจ้า... ศึกษาและปฏิบัติธรรมเพื่อ เห็นทุกข์
ซึ่งจะแตกธรรมออกมาหลายนัยยะ ดังนี้.
- เมื่อเห็นทุกข์ ย่อมเห็น ทุกขัง อันตั้งทรงอยู่ไม่ได้ ย่อมเห็น อนิจจัง อันไม่เที่ยงเปลี่ยนแปลงไป ก็ย่อมเห็นว่าแม้แต่ กาย-ใจ(จิต) ยึดถือเป็นตัวเป็นของตนก็ไม่ได้เป็นไปตามเหตุ-ปัจจัย ด้วยความไม่เที่ยง ย่อมเกิดปัญญาเห็นว่า สัพเพ ธัมมา อภินิเวเสยะ (ธรรมทั้งปวงยึดมั่นถือมั่นไม่ได้) จึงเห็นธรรม(สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ) ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา.
- ผู้ใดเห็นทุกข์ ผู้นั้นเห็นธรรม
- ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นคถาคต(พระพุทธเจ้า)
หมายเหตุ การเป็นทุกข์ กับ การเห็นทุกข์ นั้นแตกต่างกัน เพราะปุถุชน เมื่อเป็นทุกข์ ย่อมไม่เห็นทุกข์ด้วยปัญญาตามธรรมตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว.
หรือกล่าวในอีกนัยยะ - ผู้มีปัญญาแม้ไม่เป็นทุกข์ แต่เห็นทุกข์ได้.