ตามปกติ การขึ้นค่าแรง ในทางเศรษฐศาตร์ จะส่งผลให้ราคาสินค้าสูงขึ้น ต้นทุนประกอบการต่างๆสูงขึ้น อาจเป็นผลให้บริษัท กิจการต่างๆเกิดการย้ายถิ่นฐานการผลิตได้ อันนี้คือที่เรารับรู้จากการเรียนจากหนังสือ วิชาการต่างๆ
แต่มีความสงสัยอยู่อย่างนึง เลยขอถามเป็นความเข้าใจครับว่า
ช่วงนึงเคยเห็น พรรคนึง น่าจะส้ม ตอนช่วงหาเสียง เลือกตั้งนายก เคยแถลงไว้เกี่ยวกับการขึ้นค่าแรงประมาณว่า การขึ้นค่าแรง สามารถทำได้ แต่ต้องเป็นการปรับขึ้นแบบ "ค่อยเป็นค่อยไป" ไม่ใช่ปรับรวดเดียว อยากรู้ว่า ในความเป็นจริงถ้าว่ากันตามหลักเศรษฐศาสตร์ สามารถทำได้จริงมั้ยครับกับการขึ้นค่าแรงแบบ "ค่อยเป็นค่อยไป"
เห็นพูดถึงเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจโดยการปรับขึ้นค่าแรง และหลายคนมักบอกว่า ทำไม่ได้ เพราะนั่นคือหายนะในระยะยาวต่อระบบเศรษฐกิจ จะเกิดการโยกย้ายฐานการลงทุน และของจะแพงขึ้นเพราะต้นทุนการผลิต ส่วนของค่าจ้าง เพิ่มขึ้น แต่ทำไม พรรคส้ม ถึงบอกว่า ทำได้ แต่ต้องแบบค่อยเป็นค่อยไป ผมเลยสงสัยครับ
* อยากได้คำตอบที่ไม่อิงการเมือง ไม่ด่าว่าเป็นติ่งส้ม ไม่เอานะครับ แค่สงสัย และอยากได้เหตุผลจริงๆ
*ไม่แท็กห้องการเมืองนะครับ เพราะจุดประสงค์ของการตั้งคำถามไม่ต้องการคุยเรื่องการเมืองครับ
สงสัยเรื่องการขึ้นค่าแรงเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจครับ
แต่มีความสงสัยอยู่อย่างนึง เลยขอถามเป็นความเข้าใจครับว่า
ช่วงนึงเคยเห็น พรรคนึง น่าจะส้ม ตอนช่วงหาเสียง เลือกตั้งนายก เคยแถลงไว้เกี่ยวกับการขึ้นค่าแรงประมาณว่า การขึ้นค่าแรง สามารถทำได้ แต่ต้องเป็นการปรับขึ้นแบบ "ค่อยเป็นค่อยไป" ไม่ใช่ปรับรวดเดียว อยากรู้ว่า ในความเป็นจริงถ้าว่ากันตามหลักเศรษฐศาสตร์ สามารถทำได้จริงมั้ยครับกับการขึ้นค่าแรงแบบ "ค่อยเป็นค่อยไป"
เห็นพูดถึงเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจโดยการปรับขึ้นค่าแรง และหลายคนมักบอกว่า ทำไม่ได้ เพราะนั่นคือหายนะในระยะยาวต่อระบบเศรษฐกิจ จะเกิดการโยกย้ายฐานการลงทุน และของจะแพงขึ้นเพราะต้นทุนการผลิต ส่วนของค่าจ้าง เพิ่มขึ้น แต่ทำไม พรรคส้ม ถึงบอกว่า ทำได้ แต่ต้องแบบค่อยเป็นค่อยไป ผมเลยสงสัยครับ
* อยากได้คำตอบที่ไม่อิงการเมือง ไม่ด่าว่าเป็นติ่งส้ม ไม่เอานะครับ แค่สงสัย และอยากได้เหตุผลจริงๆ
*ไม่แท็กห้องการเมืองนะครับ เพราะจุดประสงค์ของการตั้งคำถามไม่ต้องการคุยเรื่องการเมืองครับ